ชมฺภาริ : (ปุ. อิต.) อาวุธพระอินทร์, ไฟ, แสง ไฟ (กำจัดความมืด). ชภิ นาสเน, ริ, นิคฺคหิตาคโม.
ขาริ ขารี : (อิต.) ขารี ชื่อมาตราตวง ๔ มาณิ- กาเป็น ๑ ขารี วิ. จตุสฺสนฺนํ มาณิกานํ สฺมูโห ขารี นาม. แปลว่า สาแหรก ก็มี.
ขาริ, ขารี : อิต. มาตราตวงเท่ากับ ๓ มาณิกา
ปทปาริปูรี : อิต. คำที่ยังบทให้เต็ม, คำเสริมบท, ได้แก่ปทปูรณะ
ปาริปูริ, ปาริปูรี : อิต. ความเต็มรอบ, ความบริบูรณ์
เสริวิหารี : ค. ผู้อยู่ตามความพอใจของตน
กิริ- กิริ : อ. เสียงร้อง “กิริ- กิริ” ของนก
กิริยวาท : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวว่า อ. กรรมอัน บุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, บุคคลผู้มี ลัทธิเป็นเครื่องกล่าวว่ากรรมชื่อว่าอัน บุคคลทำ, วาทะว่าเป็นอันทำ, กิริยวาทะ (ผู้เชื่อว่าผลของกรรมมีอยู่).
ฉินฺนิริยาปถ : (วิ.) ผู้มีอิริยาบถอันขาดแล้ว (คน เปลี้ย), ผู้มีอิริยาบถคืออันไปเป็นต้น อัน ขาดแล้ว. วิ. ฉินฺโน คมนาทิริยาปโถ โส ฉินฺนิริยาปโถ.
ตุริยงฺค : (นปุ.) เครื่องดีดสีตีเป่า. ตุริย+องฺค. เป็น ตุริยางฺค บ้าง.
ปรทาริกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของคนผู้ถึงซึ่ง ภรรยาของคนอื่น วิ. ปรทาริโก จ โส ปุคฺคโล จาติ ปรทาริกปุคฺคโล. ปรทาริก ปุคฺคลสฺส กมฺมํ ปรทาริกกมฺมํ.
ปุริมสิทฺธิ : (อิต.) สิทธิ์อันมีในก่อน, บุริสิทธิ์ คือ อำนาจอันชอบธรรมที่เรียกได้ก่อนสิทธิธรรมดา.
สิริวาส : (ปุ.) ยางสน. วิ. สิริยา อาวาโส สิริวาโส.
อาจริยก : (นปุ.) สำนักแห่งอาจารย์วิ. อาจริยสฺสสนฺติกํอาจริยกํ.ลบสนฺติเหลือแต่ก.
อาจริยุปชฺฌายวตฺตาทิ : (วิ.) มีวัตรอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์และวัตรอันสัทธิวิหาริกพึงทำแก่พระอุปชฌายะเป็นต้น มี วิ. ตามลำดับดังนี้.จ. ตัป อาจริยสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอาจริยวตฺตํ.จ. ตัปอุปชฺฌายสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอุปชฺฌายวตฺตํ.อ. ทวัน. อาจริยวตฺตญฺจอุปชฺฌายวตฺตญฺจอาจริยุปชฺฌายวตฺตานิ.ฉ. ตุล. อาจริยุปปชฺฌายวตฺตานิอาทีนิเยสํตานิอาจริยุปชฺฌายวตฺตาทีนิ (วตฺตานิ).
กเรริ : (ปุ.) กุ่ม, ไม้กุ่ม ชื่อต้นไม้ ใบออกจาก ต้น เป็นใบย่อย ๓ ใบ มีสองชนิดคือ กุ่ม น้ำ กุ่มบก. กลฺ สํขฺยาเณ, อีโร, ลสฺสโร. แปลง อี เป็น เอ อ ที่ ร เป็น อิ. แปลง เป็น อี เป็น กเรรี บ้าง.
กโปตาริ : ป. เหยี่ยว
กมฺมกริยาทสฺสน : นป. ความเห็นในการกระทำกรรม, ทัศนะในการทำงาน
กฺริยากปฺปวิกปฺป : ป. ศาสตร์ว่าด้วยกระบวนการแต่ง (อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่กวี) หมายถึงเกฏุภศาสตร์
กฺริยาจิตฺต : (นปุ.) กริยาจิต กิริยาจิต หมายถึง การทำของพระอรหันต์.
กาสมาริ : (อิต.) ผลหมากเม่า.
กิริยติ : ก. อันเขาทำอยู่
กิริยวาที : (ปุ.) บุคคลผู้มีปกติกล่าวว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ฯลฯ.
ขวาริ : (นปุ.) น้ำตกจากฟ้า, น้ำฝน. ปัญจ. ตัป.
ขาริกาช, ขาริวิธ : ป., นป. สาแหรก, เครื่องหาบบริขารของพวกดาบส
ขาริภาร : (ปุ.) เครื่องหาบ.
จตุปาริสุทฺธิสีล : (นปุ.) ศีลอันภิกษุพึงให้เต็ม ด้วยเป็นศีลยังผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มี องค์สี่, ศีลยังภิกษุผู้ปฏิบัติให้บริสุทธิ์มีองค์สี่ ( มีสี่ข้อ ).
ฉาริกามลฺลก : (ปุ.) ที่เขี่ยบุหรี่.
ชชฺฌริ : (ปุ.?) ผักปลัง, ผักไห่ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, มะรุม, ผักคราด, ขี้เหล็ก, ต้นเอื้อง.
ชชฺฌริมูล : (ปุ.?) มันเสา.
ชีวิตินฺทฺริยารมฺมณ : (วิ.) มีอินทรีย์คือชีวิตเป็น อารมณ์.
ฌาริ, ฌิรุกา : อิต. แมลงปอ
ติณปุริสก : ป. รูปคนที่ทำด้วยหญ้า; หุ่นแพ้วนกแพ้วกา
ตุรงฺคาริ : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่ไปเร็ว, ควาย, กระบือ. ตุร+น+คมฺ ธาตุ อิ หรือ ณิ ปัจ. แปลง น เป็น ง มฺ เป็น รฺ ทีฆะต้นธาตุ.
ตุริ : (นปุ.) วัตถุไปเร็ว, กระสวย. ตุรฺ สีฆคติยํ, อิ.
ถมฺพกริ : ป. ข้าว, ต้นข้าว
ถริมา : ป. เตียง, ฟูก, เบาะ
ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
ธนุตกฺการิ : อิต. ต้นนมแมว, ต้นคนทา
นาคาริ : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นข้าศึกแก่ง, ครุฑ.
ปาทปริกมฺม : นป. การบริกรรมเท้า, การนวดเท้า
ปาทปริจาริกา : อิต. หญิงผู้บำเรอแทบเท้า, เมีย, ภรรยา
ปาริจฺฉตฺตก, ปาริชาต, ปาริชาตก : ป. ไม้ปาริชาต (ไม้สวรรค์), ต้นทองหลาง
ปาริจริยา : อิต. การบำเรอ, การรับใช้, การบริการ
ปาริชุญฺญ : นป. ความเสื่อม, ความทรุดโทรม, ความสูญเสีย
ปาริปนฺถิก : ๑. ป. นักปล้นในหนทาง, โจร;
๒. ค. มีอันตราย, เต็มไปด้วยอันตราย
ปาริปูร : ค. เต็มเปี่ยม
ปาริโภคิก : ค. ควรแก่การใช้, ใช้ได้, น่าใช้
ปาริเลยฺยก : ป. ชื่อของช้าง
ปาริวาสิก : ป. ภิกษุผู้อยู่บริวาสเพื่อออกจากอาบัติสังฆาทิเสส