เทวทารุ, - รุก : ป. ไม้เทพทาโร
กกฺการุก : (ปุ.) แตงโม. ก สกัด.
กเกรุก : (ปุ.) ไส้เดือน.
การุก : (วิ.) ผู้ทำโดยปกติ วิ. กโรติ สีเลนาติ การุโก. ผู้มีปกติทำ วิ. กรณสีโล การุโก. ณุก ปัจ. กัจฯ ๕๓๖.
เครุก : (ปุ.) ยางไม้, น้ำมัน.
ทารุก : นป., ค. ท่อนไม้, ฟืน; ทำด้วยไม้
ปารารุก : นป. หิน, ก้อนหิน
ผารุก : ค. ขม
อฑฺฒรุก (อฑฺฒทุก) : นป. วิธีแต่งผมซึ่งปล่อยให้ยาวลงถึงหน้าท้อง
อูรุ อูรุก : (ปุ.) ขา, ลำขา, โคนขา, ต้นขา, ขาอ่อน. วิ. อรนฺติ อเนนาติ อูรุ. อรฺ คติยํ, อุ, อสฺสู. ส. อูรุ.
ภีรุ ภีรุก : (วิ.) กลัว, ขลาด, ขี้ขลาด, สะดุ้งกลัว. วิ. ภายตีติ ภีรุ ภีรุโก วา. อถวา, ภายนสีโล ภีรุ ภีรุโก วา. ภี ภเย, รุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือลง รุก ปัจ. หรือ ลง ณุก ปัจ. ลบ ณฺ แล้ว ลง รฺ อาคม.
ทณฺฑ : (ปุ.) ทัณฑะ ( รุกรม ) ชื่ออุบายเอาชนะ อริราชศัตรูอย่างที่ ๒ ใน ๔ อย่าง ( อีก ๓ อย่างคือ เภทะ การทำให้แตกกัน สามะ การผูกไมตรี ทานะ การให้สินบน ). ทณฺฑฺ ทณฺฑนิปาตเน, อ. ทมุ ทมเน วา, โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ ทฑิ อาณาปหรเณสุ, อ, นิคฺคหิตาคโม.
นยปีฐี : ป. กระดานสกาหรือหมากรุก
ปทก : ๑. ค. ผู้เข้าใจตัวบท, ผู้ชำนาญในบทพระเวท;
๒. นป. รากฐาน, มูลเค้า, หลัก; บท; คำ; ตาหมากรุก
ปริโยคาหติ : ก. หยั่งดู, หยั่งลง, ดำ, รุกเข้าไป
ปริโยคาหน : นป. การหยั่งดู, การหยั่งลง, การรุกเข้าไป
ปริโยคาฬฺห : กิต. หยั่งแล้ว, หยั่งลงแล้ว, รุกเข้าไปแล้ว, ดำแล้ว
อฏฺฐปท : ป., นป. กระดานหมากรุก
อฏฺฐปทผลก : (นปุ.) กระดานหมากรุก.
อฏฺฐปทผลก : (นปุ.) กระดานหมากรุก.
อฏฺฐปทอฏฺฐาปท : (ปุ. นปุ.) กระดานสกา.กระดานหมากรุก (หมากรุกแถวละ๘ตา).
อฏฺฐปท อฏฺฐาปท : (ปุ. นปุ.) กระดานสกา. กระดานหมากรุก(หมากรุกแถวละ๘ตา).
จีร, - รก : นป. เส้นใย, ใยไม้, เปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้; เส้น, ดิ้น (เงินหรือทอง)
หีร, - รก : นป. เสี้ยน, สะเก็ด, ริ้ว
กมฺมการก : (ปุ.) กรรมการ ชื่อคนที่ทำการงาน ชื่อบทที่ประกอบด้วยทุติยาวิภัติ. ส. กรฺมการก.
คหณ คหน : (วิ.) จับ, ยึด, ถือ, ถือเอา, กุม, เรียน, ชิด, ชัฏ, รก, รกชัฏ, รกเรี้ยว (รกมาก), ฟั่นเฝือ.
ชฏติ : ก. เบียดกัน, รก, รุงรัง
ตารก : (ปุ.) ดาว, ดวงดาว. ดารา เอว ตารกา. ก สกัด อา อิต. ส. ตารก ตารกา ตารา.
กฏฐหารก : ป. คนหาฟืน
กพฺพการ, กพฺพการก : ป. นักกาพย์, นักกลอน, กวี
กลหการก : ค. ผู้ทะเลาะ
กาชหารก : ป. ผู้หาบ, ผู้แบกคานหาม
กายปจารก, - ยปฺปจารก : นป. การยังกายให้ไหว, การคะนองกาย
การกสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์ผู้ทำ, สงฆ์ผู้ทำกิจทาง พระศาสนา, การกสงฆ์. สงฆ์มีจำนวน ต่าง ๆ กัน ประชุมพร้อมเพรียงกันทำ การต่าง ๆ มีสังคายนาเป็นต้น เรียกว่า การกสงฆ์.
กุมารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, กุมาร. ก สกัด. เด็กน้อย, กุมารน้อย. ก ที่ลงในอรรถว่า น้อย. ที่เป็นพหุ: แปลว่า เด็กๆ.
กุมารกวาท : ป. วาทะเยี่ยงเด็ก, การพูดอย่างเด็ก
กุลิรก : (ปุ.) ไก่ป่า, ไก่ฟ้า, นกกำภู, ปู.
กุลีร กุฬีร กุลิร กุลิรก : (ปุ.) ปู (ปูต่างๆ) วิ. กํ ปฐวึ ลุนาตีติ กุลีโร. กุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อีโร. กุลติ ปตฺถรตีติ วา กุลีโร. กุลฺ สนฺตานพนฺธุสุ, อีโร.
กุลีร, - ลีรก, - ฬีร : ป. ปู; กุ้ง
กุฬีรก : (ปุ.) ไก่ฟ้า, พญาลอ (เก่ฟ้า).
เกโสหารก : ป. ช่างตัดผม, กัลบก
โกมาร, - รก, - ริก : ค. ผู้ตั้งอยู่ในวัยรุ่นหนุ่มสาว
โกสินารก : ค., ป. ผู้อาศัยอยู่ในเมืองกุสินารา; ชาวเมืองกุสินารา
ขารก : (ปุ.) ดอกไม้เพิ่งผลิ, ดอกไม้เพิ่งจะ แตกออก. ขรฺ วินาเส, ณฺวุ.
ขุรก : ป. หมากหอมควาย, หมากเม่าควาย
คณปูรก : (วิ.) ผู้ยังหมู่ให้เต็ฒ, ผู้ยังหมู่ให้ครบ จำนวณ, ผู้ยังหมู่ให้ครบจำนวณตามกฏ.
ฆรกโปฏ : ป. นกพิราบบ้าน
ฆาสหารก : ค. คนนำอาหารมา, คนหาบหญ้า
จารก : (ปุ.) คนเดินทาง, คนเดินป่า.