โคมุตฺต : (นปุ.) เยี่ยวโค, โคมูตร. คำโคมูตร ไทยใช้เป็นชื่อของเครื่องหมายสุดเรื่องของ หนังสือรุ่นเก่ามีรูปดังนี้๛
ชิณฺณ ชิณฺณก : (วิ.) แก่, เก่า, คร่ำคร่า, ทรุด โทรม. ชรฺ วโยหานิมฺหิ โต, อิณฺณาเทโส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
ชิณฺณ, ชิณฺณก : ค. ชรา, แก่, คร่ำคร่า, เก่า
ชียติ : ก. เสื่อม, หมดไป, เก่า, คร่ำคร่า, แก่
ตรุณ : (วิ.) อ่อน, หนุ่ม, รุ่น, ใหม่.
ปตฺถาว : (ปุ.) โอกาส, ครั้ง, คราว, หน, รุ่น, ต้นเหตุ. ปปุพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว,โณ. ตฺสํโยโค.
โปราณ โปราณก : (วิ.) เป็นของมีในก่อน, เป็นของมีในกาลก่อน, มีในก่อน, มีในกาลก่อน, เป็นของเก่า, เป็นของเก่าแก่, เก่า, เก่าแก่, ก่อน, เดิม.
มาณวิกา : (วิ.) สาว, รุ่น, รุ่นสาว.
ยุว ยุวาน : (วิ.) อ่อน, หนุ่ม, รุ่น, สาว, เยาว์ (อ่อนวัย รุ่นหนุ่ม รุ่นสาว). ยุ มิสฺสเน, อ, อุวาเทโส.
กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
กตฺตร : (วิ.) หย่อน, เทิบทาบ, แก่, เก่า. กตฺตรฺ เสถิลฺเล, อ.
มาณว : (วิ.) หนุ่ม, รุ่น.
สุสุ : (วิ.) หนุ่ม, รุ่น. สสฺ ปาณเน, อุ. อสฺสุ. กัจฯและรูปฯ ๖๔๘ ตั้ง ตรุณ ศัพท์อาเทส เป็น สุสุ.
ชีรติ, ชิรยติ : ก. เก่า, แก่, ชรา, คร่ำคร่า, เสื่อม
ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
ปุราตน :
(วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
มลิน มลีน : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, มัวหมอง, หม่นหมอง, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์, มีมลทิน. มลยุตฺตตาย มลิโน มลีโน วา. อัน ปัจ. ศัพท์หลังทีฆะ.
มลิมส มลีมส : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, ฯลฯ. อีมส ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ.
กุมาริกา, - รี : อิต. กุมารี, เด็กหญิง, เด็กหญิงวัยรุ่น, หญิงพรหมจารี
ชีรณฏีกา : (อิต.) ฎีกาเก่า, ฎีกาโบราณ.
ปิโลติกา : อิต. เศษผ้า, ผ้าขี้ริ้ว, ผ้าขาด, ผ้าเก่า
กตฺตรสุปฺป : (นปุ.) กระด้งเก่า, กระด้งขาด, กระด้งร่องแร่ง.
กรีส : (ปุ. นปุ.) อาหารเก่า, อุจจาระ, ขี้, กรีษ. วิ. กุจฺฉิตพฺพนฺติ กรีสํ. กุ กุจฺฉิเต, อิโส, กุสฺส กรตฺตํ, ทีโฆ. รูปฯ ๖๖๗. อภิฯ วิ. กรียตีติ กรีสํ. กิรฺ วิกิรเณ, อีโส, กรฺ กรเณ วา. ส. กรีษ.
กลภ กฬภ : (ปุ.) ช้างหนุ่ม, ช้างรุ่น, ลูกช้าง. วิ. กลียติ ปริมียติ วยสาติ กลโภ กฬโภ วา. กลฺ สงฺขฺยาเณ, อโภ. ส. กลภ.
กฬภ : ป. ช้างรุ่น
โกมาร, - รก, - ริก : ค. ผู้ตั้งอยู่ในวัยรุ่นหนุ่มสาว
โกมารี : อิต. กุมารี, หญิงรุ่นสาว, หญิงพรหมจารี
คามฏฐาน : นป. ที่เคยตั้งบ้าน, บ้านเก่า, บ้านร้าง
คิริคพฺพช : นป. ชื่อเมืองหลวงเก่าของแคว้นมคธ
คุคฺคุล คุคฺคุฬ คุคฺคฬุ คุคฺคุฬุ : (ปุ.) ไม้กำกูน, ไม้กำคูน(สองชื่อนี้ เป็นไม้อย่างเดียวกัน), ภาษาเก่าใช้ว่า คำคูน คำคูล. คูน ต้นคูน (ดอกเป็นช่อยาวสีเหลืองราชพฤกษ์ก็เรียก). โรคหรเณ คุรุโนปิ เวชฺชสฺส คุรุ คุคฺคุฬุ.
จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
ชชฺชร : (วิ.) แก่มาก, เก่ามาก, คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม. ชรฺ วโยนิมฺหิ, อ. เท๎วภาวะ ช ซ้อน ชฺ
ชิณฺณจมฺม : (นปุ.) หนังเก่า, คราบงู.
ชิณฺณวสน : (นปุ.) ผ้าเก่า.
ชีรณตา : อิต. ความเป็นคืออันชรา, ความชรา, ความเก่าแก่, ความคร่ำคร่า, ความเสื่อม, ความทุพพลภาพ
ชีราเปติ, ชีเรติ : ก. ให้คร่ำคร่า, ให้เก่าแก่, ให้เสื่อม; ให้ย่อย
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
ตรุณี : (อิต.) หญิงรุ่น,หญิงสาว. ตรฺ ตรเณ, อุโณ, อิตฺถิยํ อี หรือลง ยุ ปัจ.แปลงเป็น อณ เป็น ตรณ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ แล้วลง อี อิต.
เตลปิโลติก : ป. ผ้าเก่าอันชุ่มด้วยน้ำมัน, ผ้าชุบน้ำมัน
ถนก : นป. ถันเด็ก, นมเด็กสาววัยรุ่น
ทิกฺก : (ปุ.) ช้างหนุ่ม, ช้างรุ่น. อาทิ+กร ลบ อา ซ้อน ก.
ทิกฺกร : (ปุ.) เด็กหนุ่ม, เด็กรุ่น. อาทิ+ กร ลบ อา ซ้อน ก.
ทิกฺกรี : (อิต.) หญิงรุ่น, หญิงรุ่นสาว.
ทีฆวส : (ปุ.) ตระกูลเก่า, วงศ์เก่า, ไม้ไผ่, ต้นไผ่, ต้นอ้อ.
นิวตฺถปิโลติกขณฺฑ : (นปุ.) ท่อนแห่งผ้าเก่า อันบุคคลนุ่งแล้ว. เป็น ฉ. ตัป, มี วิเสสน- บุพ. กัม. เป็นท้อง.
ปรมฺปร : (วิ.) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, นานมา, โบราณนานมา.
ปรมฺปรา : (อัพ. นิบาต) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, ก่นเก่า, นานมา, โบราณนานมา. วิ. ปเร จ ปเร จ ปรมฺปรา.
ปรสุเว ปรเสฺว : (อัพ. นิบาต) ในวันพรุ่ง, ใน วันมะรืน, มะรืนนี้, ปะรืน ( สำนวนเก่า ).
ปริชิณฺณ : กิต. แก่หง่อมแล้ว, เก่าคร่ำคร่าแล้ว
ปฬจฺจร : นป. ผ้าเก่า