Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ร่วมท้อง, ร่วม, ท้อง , then ทอง, ท้อง, รวม, ร่วม, รวมทอง, ร่วมท้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ร่วมท้อง, 380 found, display 1-50
  1. สหช : (ปุ.) ชนผู้เกิดร่วมกัน พี่น้องชาย(ท้องเดียวกัน). วิ. สห ชาโต สหโช. สหปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, กฺวิ ส. สหช.
  2. โสทร, โสทริย : ค. ผู้เกิดร่วมท้องเดียวกัน
  3. อมา : (อัพ. นิบาต) พร้อม, กับ, พร้อมกับ, ร่วม, ร่วมกัน, ร่วมกับ.ใกล้เคียง. สหตฺถวจกนิปาต.
  4. โกฏฐ : ๑. ป., นป. กระเพาะ, ลำไส้, ท้อง; ยุ้ง, ฉาง, ห้องเก็บของ, กุฏิพระ; ช่อง, โพรง, ห้อง; ๒. นป. ต้นโกฐ; ๓. ป. นกเปล้า
  5. เทหมชฺฌ : (นปุ.) ท่ามกลางแห่งกาย, ท้อง, อุทร
  6. นาภิ : (อิต.) ดุม ชื่อของส่วนกลางล้อเกวียน หรือล้อรถที่มีรูสำหรับสอด, สะดือ, ท้อง, ศูนย์กลาง. วิ. นภตีติ นาภฺ หึสายํ, อิ, ณิ วา. ส.นาภิ, นาภี.
  7. นาภิ, นาภี : อิต. สะดือ, ท้อง; ดุมเกวียน, ดุมรถ
  8. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  9. คหณี : (อิต.) ท้อง. คหฺ อุปาทาเน, อนิ, อิตฺถิยํ อี. ท้องของหญิง วิ. คพฺถํ คณฺหาติ ธาเรตีติ คหณี. คพฺภาสยสญฺญิโต มาตุกุจฺฉิปฺปเท โส. ไฟย่อยอาหาร, ไฟธาตุ. เตโชธาตุมฺหิ ยถาภุตฺตาหารสฺส วิปาจนวเสน คณฺหณ โต คหณี. เป็นชื่อของโรคก็มี.
  10. จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
  11. ภิกฺขุสตสหสฺสปริวาร : (วิ.) มีแสนแห่งภิกษุเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตลุ. มี ฉ. ตัป. เป็น ท้อง.
  12. เมลน : (นปุ.) การกอดรัด, ฯลฯ, การรวมกัน, การร่วมกัน, ความกอดรัด, ฯลฯ, ยุ ปัจ.
  13. สม : (วิ.) คล้าย, เหมือน, เหมือนกัน, เช่นกัน, เช่นกับ, เรียบ, เสมอ, เสมอกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ครบ, พอดี, เหมาะ, ควร, ชอบ, สมฺ เวลมฺเพ อ. ส. สม.
  14. สมฺมน : (วิ.) มีใจร่วม, มีใจร่วมกัน, มีใจรวมกัน. ไทย สัมมนา ว่า การประชุมเพื่อปรึกษาหารือกันในดำเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่ง.
  15. สมาคม : (ปุ.) การมารวม, การมารวมกัน, การมาร่วม, การมาพร้อมกัน, การประชุม, การประชุมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ประชุม, สมาคม. สํ อาปุพฺโพ. คมฺ คติยํ. อ. ส. สมาคม.
  16. สมาชิก : (ปุ.) บุคคลผู้เข้าประชุม, บุคคลผู้มาประชุมรวมกัน, บุคคลผู้มาประชุมร่วมกัน, สมาชิก(ผู้มีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในสมาคมหรือกิจการใด ๆ).
  17. สมายาติ : ก. มาร่วมกัน, รวมกัน
  18. สโมสร สโมสรณ : (นปุ.) การมารวมกัน, การมาร่วมกัน, การมาพร้อมกัน, การประชุมกัน, สโมสร(ที่สำหรับประชุมกัน ที่สำหรับประชุมคบค้ากัน). สํ อา ปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. ยุ. แปลง อา เป็น โอ.
  19. สหกรณ : (นปุ.) การทำรวมกัน, การทำร่วมกัน, การร่วมมือกันทำ, สหกรณ์ คือการงานที่ร่วมกันทำ เป็นวิธีอย่างหนึ่งที่บุคคลหลายคนเข้าหุ้นกัน ร่วมมือกันเพื่อความเจริญในทางเศรษฐกิจ แล้วแบ่งผลประโยชน์แก่สมาชิกตามสิทธิเสมอกัน.
  20. สหเสยฺยา : (อิต.) การนอนกับ, การนอนรวม, การนอนร่วม, การนอนรวมกัน, สหเสยยาบัติ.
  21. สหเสยฺยาปตฺติ : (อิต.) อาบัติในเพราะอันนอนรวมกัน, อาบัติในเพราะอันนอนร่วมกันกับอนุปสัมมัน.
  22. สิเลส : (ปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  23. สิเลสน : (นปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  24. เอกชฺฌ : (วิ.) อันเดียว, อันเดียวกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ด้วยกัน, เป็นอันเดียวกัน, ทำโดย ส่วนเดียว.
  25. เอกชฺฌ : (อัพ. นิบาต) อันเดียวกัน, รวมเข้า, รวมกัน, ร่วมกัน, ด้วยกัน, เป็นอันเดียวกัน, ประการเดียวกัน, ประการเดียว, โดยส่วน เดียว, โดยส่วนเดียวกัน. รูปฯ ว่าเป็น สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  26. เอกโต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, โดยส่วน- เดียวกัน, โดยความเป็นอันเดียวกัน, โดย ข้างเดียว, ข้างเดียว, รวมกัน, ร่วมกัน.
  27. กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
  28. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  29. กนิฏฐ : (ปุ.) น้องชายผู้น้อยที่สุด, น้องชาย สุดท้อง, น้องชาย. ส. กนิษฺฐ.
  30. กนิฏฺฐ ภคินี กนิฏฺฐา : (อิต.) น้องหญิงผู้น้อย ที่สุด, น้องหญิงคนสุดท้อง, น้องหญิง, น้องสาว.
  31. กปฺปสตสหสฺสปูริตปารมี : (วิ.) ผู้มีบารมีอัน ให้เต็มแล้วตลอดแสนแห่งกัป. เป็น ทุ.ตัป. มี ฉ.ตัป. และ ต.ตุล. เป็นท้อง.
  32. กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
  33. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  34. กาลเทส : (ปุ.) เวลาและท้องถิ่น, เวลาและ ถิ่นที่, เวลาและสถานที่, คราวและที่, กาลเทสะ กาลเทศะ คือการทำที่เหมาะ ควรแก่เวลาและสถานที่ การรู้จักเวลาและ สถานที่ การรู้จักคราวควรและไม่ควร.
  35. กุจฺฉิ : ป., อิต. ท้อง, ครรภ์, โพรง, ภายใน
  36. กุจฺฉิฏฐ : ๑. ป. ลมในกายประเภทหนึ่ง, ลมในท้อง ; ๒. ค. ซึ่งอาศัยอยู่ในท้อง
  37. กุจฺฉิฏฺฐ : (ปุ.) กุจฉิฏฐะ ชื่อลมภายในอย่างที่ ๓ ใน ๖ อย่าง, ลมในท้อง. วิ. กุจฺฉิมฺหิ ติฏฺฐตีติ กุจฺฉิฏฺโฐ. กุจฺฉิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺ สํโยโค.
  38. กุจฺฉิฑาห, - ทาห : ป. ความเร่าร้อนในท้อง, การอักเสบในกระเพาะ
  39. กุจฺฉิปริหาร : นป. การบริหารท้อง, การเลี้ยงชีวิต
  40. กุจฺฉิปริหาริก : ค. ผู้บริหารท้อง, (อาหาร) สำหรับบริหารท้อง
  41. กุจฺฉิปุร : (วิ.) ยังท้องให้เต็ม, เต็มในท้อง (พอเต็มท้อง พออิ่มท้อง).
  42. กุจฺฉิโรค : ป. โรคท้อง, โรคในท้อง
  43. กุจฺฉิวิการ : ป. ความพิการแห่งท้อง, ลำไส้พิการ
  44. กุจฺฉิวิตฺถมฺภน : นป. การค้ำจุนท้อง, การช่วยเหลือให้ลำไส้ปฏิบัติงานได้ตามปกติ (การย่อยอาหาร)
  45. กุจฺฉิสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้ตั้งอยู่ในท้อง, สัตว์ผู้ เกิดอยู่ในท้อง, สัตว์ผู้อยู่ในท้อง.
  46. กุญฺช กุญฺชนิ : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอัน สะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น (ปพฺพ ภาทีนํ คพฺภรเทเส ลตาปลฺลวติณา ทีหิ ปิหิโตทเร)., หุบเขา. กุญฺชฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, นิ.
  47. กุสลกมฺมปติฏฐากรณกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำ ซึ่งที่พึ่งคือกรรมอันเป็นกุศล. เป็น วิเสสนปุพ. กัม. มี วิเสสนบุพ. กัม. อวกัม. และ ทุ. ตัป. เป็นท้อง.
  48. กูฏาคารกุจฺฉิปฺปมาณ : (วิ.) มีท้องแห่งเรือนยอด เป็นประมาณ.
  49. โกฏฐฏฐิ : อิต. กระดูกท้อง
  50. โกฏฐพฺภนฺตร : นป. ภายในแห่งท้อง, ลำไส้
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-380

(0.0620 sec)