กตฺตรสุปฺป : (นปุ.) กระด้งเก่า, กระด้งขาด, กระด้งร่องแร่ง.
อาธาร : (ปุ.) เชิง (เครื่องรองภาชนะทั่ว ๆไป), เชิงบาตร (ขาบาตร), อาธาระเป็นคำเรียกสัมพันธ์บทที่ประกอบด้วยสัตมีวิภัติ (อธิกรณ), การอุปถัมภ์, อ่าง, หม้อน้ำ, ที่ขังน้ำสระ, ร่องน้ำรอบโคนต้นไม้ (อาลวาลก).อาปุพฺโพ, ธรฺธารเณ, โณ.
ชลธารก : (ปุ.) สายน้ำ, กระแสน้ำ, ร่องน้ำ.
ชลธารา : (อิต.) สายน้ำ, กระแสน้ำ, ร่องน้ำ, ลำน้ำ, ลำคลอง, ห้วย, ทะเลสาบ.
ปนาฬิกา, - นาฬี : อิต. กล้อง, หลอด, ท่อ, ร่องน้ำ, ทางน้ำ
ปริขา : (อิต.) คู ชื่อร่องน้ำที่ขุดขึ้นพื่อเป็น เครื่องกีดขวางป้องกัน หรือเก็บน้ำไว้ใช้, สนามเพลาะ ตือคูที่ขุดบังข้าศึก. วิ. ปริ สมนฺตโต นครสฺส พาหิเร ขญฺญตีติ ปริขา. ปริปุพฺโพ, ขณุ อวทารเณ, โร. รูปฯ ๕๗๙.
มงฺกุณ : (ปุ.) เรือด, ชื่อสัตว์เล็กชนิดหนึ่งอยู่ตามร่องและที่นอนกัดกินเลือดคน.
มาติกา : (อิต.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, ทางน้ำ, ทางน้ำไหล, ร่องน้ำ, ลำราง, เหมือง, คลอง, สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนแม่เพราะเป็นของตั้งอยู่ในความสำเร็จของปวงชน.
อาลวาลก : (นปุ.) ร่องน้ำรอบโคนต้นไม้, ชลาธาร. อาล (ต้นไม้?) + วาลก (ร่องน้ำ) วาล ก สกัด. ส. อาลวาล อ่างน้ำ.
อุทหารก : (วิ.) ผู้ขุดร่องน้ำ, ผู้นำน้ำไป, ผู้นำ น้ำไปด้วยเหมือง. อุทกปุพฺโพ, อุทปุพฺโพ วา, หรฺ หรเณ, ณฺวุ. ถ้าตั้งอุทก เป็น บทหน้า พึงลบ ก.
สุรงฺค : (ปุ.) สีงาม, สีดี, สีงามเรืองรอง, สีฉูดฉาด, สุรงค์, สุหรง (สีงาม สีจัด สีฉูดฉาด). สุนฺทร+รงฺค. ส. สุรงฺค.
กุฏฐ : ๑. นป. โรคเรื้อน; ต้นโกฐ;
๒. ค. เล็ก, น้อย, รอง
คุณ : (วิ.) ซ้อน, ทบ, รอง, น้อย, ประกาศ.
อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
กรณี : (อิต.) คดี, เรื่อง, เรื่องเดิม, มูล, เหตุ. ส. กรณี.
คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
จมฺมขณฺฑ : ป. ชิ้นหนัง, ท่อนหนัง, แผ่นหนังสำหรับรองนั่ง
จิตฺต จิตฺร : (วิ.) ไพเราะ, งาม, งดงาม, สวยงาม, ตระการ, ประหลาด, แปลก, หลากสี, หลายสี, เรื่อเรือง เรืองรอง, ด่าง, พร้อย, ดำมอๆ, วิจิต, วิจิตร. จิตฺตฺ จิตฺติกรเณ, อ. ส. จิตฺร.
จิมิลิกา : อิต. ผ้าปูพื้น, ผ้ารองพื้น
จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
จุมฺพฏ, - ฏก : นป. เทริด, เชิง, เครื่องรองภาชนะ, หมอน
ชว : (วิ.) รับ, เร่ง, ด่วน, แล่นไป, ว่องไว, เชาว์. ส. ชว.
ตถตฺต : (วิ.) มีจิตเที่ยง, มีจิตตรง.
ทณฺฑกา : (อิต.) ด้าม, มีดมีด้าม, เขียงรอง.
ทฺวนฺท : (ปุ.) การร่วมสังวาส, เมถุน (เรื่อง ของคนคู่)
นนฺธี : (อิต.) เชือกหนัง, สายเชือก, สายรอง เท้า. วิ. นหฺยเต ยาย สา นนฺธี. นหฺ พนฺธเน, โต, อี. แปลง ด เป็น นฺธ ลบ หฺ.
นิกฺเขปปท : (นปุ.) บทตั้ง, นิเขปบท (หัว เรื่อง ความย่อ).
ปฏิปาทก : ป. ผู้ให้สำเร็จ, ผู้จัดแจง, ผู้จัดหา; เชิง (เตียง), ที่รอง (เตียง)
ปณฺณธาร : ป. เครื่องรองทำด้วยใบไม้
ปตฺตกณฺโฑลิกา : อิต. หม้อเก็บบาตร, กระชุสำหรับเก็บบาตร, เชิงรองบาตร
ปตฺตาธารก : นป. เชิงรองบาตร, ตีน, หรือฝาบาตร
ปาฏิโภค : ป. ผู้ประกัน, ผู้รับรอง, การประกัน, การรับรอง
ปาภติกถา : อิต. เรื่อง, ข่าว
ลย : ป. มาตราเวลา = ๑๐ ขณะ ; เสียงรองประสานกับเสียงดนตรี ; จังหวะ
วตฺถุ : นป. พัสดุ, สิ่งของ, เรื่อง, พื้นที่
สนฺถาร สนฺถารก : (ปุ.) การลาด, การปู, การปูลาด, ที่รอง. ณ ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
หตฺถตฺถร : ป. ที่รองหลังช้าง
อกฺขาน : (นปุ.) การบอก, การกล่าว, การแสดง, การชี้แจง, การสวด, เรื่อง, นิทาน, การเล่านิทาน, เสภา, อาขยาน (บทท่องจำ).อาปุพฺโพ, ขา ปกถเน, ยุ. ส. อาขฺยาน
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
อณฺฑูปก : (นปุ.) เครื่องรองภาชนะ, เครื่องรองของที่เทินบนศรีษะ (ส่วนมากทำด้วยผ้าเป็นวงกลม), เสวียนผ้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ).วิ.อนฺตํ สมีปํ อุปคจฺฉติอาเธยฺยสฺสาติ อณฺฑูปกํ. แปลง นฺตเป็นณฺฑแปลงคเป็นก.
อธิกรณ : (นปุ.) การทำยิ่ง, โทษชาตเป็นเครื่องทำยิ่ง, โทษ, คดี, เหตุ, เรื่อง, เรื่องราว, อธิกรณะเป็นคำเรียกบทที่ประกอบสัตมีวิ-ภัติ, อธิกรณ์ คือข้อพิพาท หรือที่ถกเถียงกันเมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องทำ ต้องระงับ.อธิบทหน้ากรฺธาตุยุปัจ.ส.อธิกรณ.
อธิกรณี : (อิต.) ทั่ง (แท่นสำหรับรองตีเหล็ก) วิ.อธิกโรติยสฺสํสาอธิกรณี.
อนุเถร : (ปุ.) พระเถระน้อยพระเถระรอง(ถัดจากพระมหาเถระ), พระอนุเถระ
อนุราช : (ปุ.) พระราชาน้อย, พระราชารอง, พระเจ้าแผ่นดินองค์รอง, พระอนุราช.
อวสฺสาวน : นป. การกรอง
อาธารก : (ปุ.) เชิงบาตรเป็นที่มาทรงไว้, เชิงบาตรเป็นที่รอง, เชิงบาตร.ส. อาธาร.
อาสิ อาสี : (อิต.) ความหวังด้วยวัตถุ (เรื่อง) อัน...ปรารถนาแล้ว. อิฏฺฐสฺส วตฺถุโน อาสึสนา. ความหวังดี, การให้พร, อาเศียร. ส. อาศิสฺ แปลง สฺ เป็น รฺ เป็น อาศิร.
อุทุกฺขลิก : (นปุ.?) ครกรองเดือยประตู.