กงฺกล : ป., นป. โครงกระดูก, ร่าง, โซ่
อุปธิ : (ปุ.) รูป, ร่าง, ร่างกาย, จักร, กิเลส เครื่องยังทุกข์ให้เข้าไปตั้งไว้, กิเลสเครื่อง เข้าไปทรง, กิเลสเครื่องทรงทุกข์ไว้, กิเลส ชื่ออุปธิ, กิเลศ, ความพัวพัน. อุปปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. ส. อุปธิ.
อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
สรีร : (นปุ.) ร่าง (ตัว), กาย, ร่างกาย, ตัว, ตน, ตัวตน, สรีระ, วิ. สรตีติ สรีรํ. สรฺ คติยํ, อีโร. สรนฺติ วาตํ หึสนฺตีติ วา สรีรํ. สรฺ หึสายํ. อภิฯและฎีกาฯ ลงอีรปัจ. รูปฯ ลง อิร ปัจ. ทีฆะ.
รฏฺฐมฺมนุญฺญ : (นปุ.) รัฐธรรมนูญ ชื่อกฏหมายสูงสุดของประเทศ เป็นกฎหมายอันเป็นที่พึงพอใจของประชาชนทั้งประเทศ ประชาชนทั้งประเทศอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญนี้. รฏฺฐ+ธมฺม+มนุญฺญ ลบอักษรที่เสมอกันสามตัวเสียตัวหนึ่ง.
โทณิ : (อิต.) ร่าง, ร่างพิณ.
กพนฺธ : (ปุ.) ร่างอันไร้ศรีษะ, ผีหัวขาด.
กวนฺธ : ป., นป. ร่างที่ไม่มีหัว, ผีหัวขาด
กวนฺธ กพนฺธ : (ปุ.) ร่างไม่มีศรีษะ, ผีไม่มี ศรีษะ, ผีหัวขาด. วิ. อวิชฺชมาเนน เกน สิรสา อนฺโธ กวนฺโธ. ก+อนฺธ วฺ อาคม ในท่ามกลาง.
กิส, กิสก : ค. ผอม, บาง, ร่างน้อย
กุณฺฑ : (ปุ.) เหี้ย, จะกวด (สัตว์เลื้อยคลานรูป ร่างคล้ายจิ้งจก ตะกวด ก็เรียก), ไฟ, เตาไฟ, หลุมไฟ. กุณฺฑ ฑาเห, อ.
กุลฺลกสณฺฐาน : ค. มีสัณฐานดังพ่วงแพรูปร่างเหมือนแพ
ฆฏียนฺต : (นปุ.) ถัง, ถังมีสาย, ครุ, โพง (ชง โลง), ชงโลง, แครง ชื่อภาชนะสานสำ- หรับตักน้ำรดต้นไม้ รูปร่างคล้าย หอยแครง มีด้ามยาว. ฆฏีปุพฺโพ, ยา คติปาปุณเนสุ, อนฺโต อโต วา.
ฆรกูฏ : (นปุ.) ช่อฟ้า ชื่อตัวไม้ที่ติดอยู่เบื้อง บนของหน้าบัน รูปร่างเหมือนหัวนาค ชู ขึ้นเบื้องบน.
จมฺม : (นปุ.) โล่ ชื่อเครื่องปกป้องศัตรา มีรูป ร่างต่างๆ จรฺ คติ-ภกฺขเณสุ, โม. ลบ รฺ ซ้อน มฺ หรือแปลง รฺ เป็น มฺ หรือตั้ง จมุ อทเน, อ. ซ้อน มฺ.
ตนุมชฺฌิม : (วิ.) อันมีในท่ามกลางตัว, เอว บางร่างน้อย.
ถาล : (ปุ.) ขัน, จาน, ชาม, ถัง. โอ (ภาชนะสานสำหรับใส่ของ รูปร่าง คล้ายขัน ขันโอ ก็เรียก). ถลฺ ฐาเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัต.
ถาลก : (นปุ.) ขัน, จาน, ชาม, ถัง. โอ (ภาชนะสานสำหรับใส่ของ รูปร่าง คล้ายขัน ขันโอ ก็เรียก). ถลฺ ฐาเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัต.
ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ;
๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
ทิฏฺฐิสงฺฆาต : ป. โครงร่างแห่งทิฐิ, ความสับสนแห่งความเห็น
ทุทฺทสิก : ค. มีลักษณะชั่ว, มีรูปร่างน่าเกลียด, มีรูปร่างขี้เหร่
เทห : (ปุ. นปุ.) กาย,ร่างกาย,ตัว,เนื้อตัว,รูป,รูปร่าง,อัตภาพ.ทิหฺอุปจเย,โณ.
นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
นิภตา : อิต. ความเหมือนกัน, การสมดุลย์กัน; ความปรากฏ; หน้าตารูปร่าง
ปาสุก, ปาสุฬ : ป. ซี่โครง, โครงร่าง
มกร : (ปุ.) มังกร ชื่อสัตว์ในนิยายของจีน มีรูปร่างคล้ายงู แต่มีตีนมีเขา ชื่อดาวราสีที่ ๑๐. วิ. ปาณิคฺคหเณ มุขํ กิรตีติ มกโร. มุขปพฺโพ, กิรฺ วิกิรเณ, อ. ลบ ย แปลง อุ เป็น อ อิ ที่ กิ เป็น อ. เป็น มงฺกร บ้าง.
มุขวณฺณ : ป. รูปร่างหน้าตา
ยกฺข : (ปุ.) ยักขะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่าง ๑ ใน ๘ อย่าง, เทวะ, สัตว์โลก, ท้าวสักกะ,รากษส, ยักษ์ คืออมนุษย์พวกหนึ่ง รูปร่างใหญ่โต เขี้ยวโง้ง ชอบกินมนุษย์และสัตว์ เป็นบริวารของท้าวกุเวรมหาราช ท้าวกุเวรฯ กับท้าวเวสสุวัณ เป็นเทพองค์เดียวกัน. และยักขะนี้ยังเป็นคำเรียกพระขีณาสพ อีกด้วย. ยกฺขฺ ปูชายํ, อ. ยตฺปยตเน วา, โข, ตสฺส โก.
สุรูปตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีรูปดี, ความเป็นผู้มีรูปได้สัดส่วน, ความเป็นผู้มีรูปร่างสมส่วน.
อฏฺฐิสงฺขลิก : (ปุ.) ร่างกระดูก, โครงกระดูกเป็นอิต.ก็มี.
อฏฺฐิสงฺขลิก : (ปุ.) ร่างกระดูก, โครงกระดูก เป็น อิต. ก็มี.
อฏฺฐิสงฺขลิกา : อิต.โครงกระดูก,ร่างกระดูก
อฏฺฐิสงฺฆาต : อิต.โครงกระดูก,ร่างกระดูก
อหีนินฺทริย : ค. มีอินทรีย์ไม่เลว, มีร่างอันไม่บกพร่อง
อากุจฺจ : (ปุ.) จะกวดตะกวดชื่อสัตว์ชนิดหนึ่ง อยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบกรูปร่างคล้ายจิ้งจกแต่ตัวใหญ่กว่ามาก.
โอโกฏิมก : (วิ.) มีรูปร่างเล็ก.
โทณิ, - ณิกา, - ณี : อิต. เรือชะล่า, เรือโกลน, เรือแจว; ราง, ลำราง
ธารา : (อิต.) การทรง, การรับไว้, การหนุน, ความทรง, ฯลฯ, ความสืบต่อ, คม, คม ดาบ, สายฝน (ที่ตกหนัก), สายน้ำ, กระแสน้ำ, ลำธาร, ห้วย, หยาดน้ำ, ท่อ, ท่อน้ำ, ลำราง. วิ.เวคํ ธาเรตีตฺธารา. เป็น ปุ. บ้าง. ส. ธารา.
ปสฺสาวโฑณิกา : อิต. รางสำหรับปัสสาวะ
โปกฺขร : (ปุ.) ช่องพิณ, รางพิณ. วิ. โปเสติ วฑฺเฒติ สทฺเทติ โปกฺขโร. ปุสฺ โปสเน วุฑฺฒิยํ วา, ขโร, อุสฺโส, สสฺสโก. กฏฐาทีหิ โทณิสณฺฐาเนน กตํ วชฺชภณฺฑํ วีณาย โปกฺขโร นาม. เป็น นปุ. บ้าง.
มาณิกา : อิต. เครื่องตวงรูปเหมือนราง
มาณิกา มานิกา : (อิต.) มาณิกา มานิกา ชื่อ ภาชนะสำหรับตวง รูปเหมือนราง. ๔ โทณะ เป็น ๑ มาณิกา, มานิกา.
มาติกา : (อิต.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, ทางน้ำ, ทางน้ำไหล, ร่องน้ำ, ลำราง, เหมือง, คลอง, สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนแม่เพราะเป็นของตั้งอยู่ในความสำเร็จของปวงชน.
อุทกขนฺทนิกา : (อิต.) รางระบายน้ำ, ลำราง ระบายน้ำ.
อุทกมาติกา : (อิต.) รางแห่งน้ำ, รางน้ำ.
อุทกวาหก : (ปุ.) ลำราง.