Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ร่ายมนต์, ร่าย, มนต์ , then มนต, มนต์, ราย, ร่าย, รายมนต, ร่ายมนต์ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ร่ายมนต์, 72 found, display 1-50
  1. ชป : ป. การบ่น, การพูดอุบอิบ, การร่ายมนต์
  2. ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
  3. มนฺตชปฺปน : (นปุ.) การกล่าวมนต์, การร่ายมนต์, มนฺต+ชปฺปน.
  4. กลส : (ปุ.) ตุ่ม, ไห, ถ้วย, หม้อน้ำ, กลส กลศ ชื่อภาชนะ มีรูปเหมือนคนโทน้ำ มีฝาปิด และมีพวยเหมือนกาน้ำ สำหรับใส่น้ำเทพ- มนต์ ของพราหมณ์ วิ. เกน ลสตีติ กลโส. กปุพฺโพ ลสฺ กนฺติยํ, อ. เกน ลิสฺสตีติ วา กลโส. ลิสฺ สิเลสเน, อ, อิสฺสตฺตํ, กลียตีติ วา กลโส. กลฺ สงฺขฺยาเณ, อโส. ส. กลศ.
  5. จตุกณฺณ จตุกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมสี่ คือการปรึกษากันสองคน ได้ยินกันสี่หู ( มนฺต การปรึกษา ). วฺ. จตฺตาโร กณฺณา เอตฺถาติ จตุกฺกณฺโณ. ทฺวินฺน ชนาน วิสยภูโต โส มนฺโต จตุกฺกณฺโณ. นาม.
  6. ฉกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมหก คือการปรึกษากัน สามคน ได้ยินกันหกหู. วิ. ติณฺณํ ชนานํ วิสยภูโต โส มนฺโต ฉกฺกณฺโณ นาม. ฉ กณฺณา เอตฺถาติ ฉกฺกณฺโณ. มนฺต แปลว่า การปรึกษา. ฉกฺขตฺตุ (อัพ. นิบาต) หกครั้ง, หกคราว, หก หน, สิ้นหกครั้ง,ฯลฯ. ดู จตุกฺขตฺตุ ประกอบ
  7. มนฺต : (ปุ.) มนต์, มนตร์ (คำสำหรับสวด คำสำหรับเสกเป่า), มันตะ ชื่อของพระเวท, พระเวท. วิ. มุนาติ ธมฺมํ อเนนาติ มนฺโต. มุนฺ ญาเณ, โต, อุสฺส อตฺตํ.
  8. กสฺสป : (ปุ.) กัสสป ชื่ออดีตพุทธะ ชื่อพระ เถระครั้งพุทธกาล ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์.
  9. จญฺจลติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา, ร่ายรำ, ท่องเที่ยว
  10. จตุกฺกณฺณ : ป., ค. มนต์มีสี่หู, มนต์ลึกลับซึ่งฟังได้เพียงสองคน; มีสี่มุม, ซึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยม
  11. ชปน ชปฺปน : (นปุ.) การกล่าว, การร่าย, การกระซิบ, ความปรารถนา. ชปฺ ชปฺป วจเน มานเส จ, ยุ.
  12. นจฺจติ : ก. ฟ้อนรำ, เต้นรำ, ร่ายรำ
  13. นตฺต : ๑. นป. กลางคืน; ๒. นป. การฟ้อนรำ, การเต้นรำ, การร่ายรำ, การแสดง
  14. ปริตฺตาณ : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
  15. พฺราหฺมณวาจนก : นป. การบอกคัมภีร์พระเวทโดยพราหมณ์, หอสวดมนต์ของพราหมณ์
  16. พหุมนฺต : ค. มีมนต์มาก, มีความคิดมาก, มีปัญญาดี
  17. พาหิรมนฺต : นป. มนต์ภายนอก (พุทธศาสนา), คาถาอาคม; คำสอนภายนอก (พุทธศาสนา)
  18. พุทฺธปญฺห : ป. ปัญหาที่เกี่ยวกับพระพุทธมนต์ ซึ่งพระสารีบุตรถามปริพพาชิกา ชื่อกุณฑลเกสี
  19. พุทฺธมนฺต : นป.พุทธมนต์, พระดำรัสอันแฝงไว้ด้วยความหมายอันลึกซึ้งของพระพุทธเจ้า
  20. ภคุ : (ปุ.) ภคุ ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์ตน ๑ ใน ๑๑ ตน วิ. ภํ นกฺขตฺตํ คจฺฉติ ชานาตีติ ภคุ, ภปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อุ. ลบที่สุดธาตุ. ภรตีติวา ภคุ. ภรฺ ภรเณ, คุ, รฺโลโป.
  21. ภารทฺวาช : (ปุ.) ภารทวาชะ ชื่อ ฤาษีผู้แต่งมนต์ ๑ ใน ๑๑ ท่าน.
  22. มนฺตชฺฌาย : (วิ.) ผู้ศึกษามนต์, ผู้ท่องมนต์. มนฺต+อชฺฌาย.
  23. มนฺตชฺฌายก : ค. ผู้เรียนมนต์
  24. มนฺตปารคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งมนต์, ผู้เรียนจบมนต์, ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งเวท, ผู้เรียนจบเวท.
  25. ยมทคฺคิ : (ปุ.) ยมทัคคิ ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์ ๑ ใน ๑๑ ท่าน.
  26. องฺควิกฺเขป : (ปุ.) การออกท่าทางด้วยอวัยวะ, การออกท่าทางด้วยอวัยวะแห่งสรีระมีมือและเท้าเป็นต้น, การร่ายรำ.วิ. องฺคนํหตฺถปาทาทิสรีราวยวานํวิกฺเขโปองฺควิกฺเขโป.
  27. องฺคหาร : (ปุ.) การออกท่าทางด้วยอวัยวะ, การออกท่าทางขณะพูด, การร่ายรำ.วิ.องฺคสฺสหาโรองฺคหาโร.
  28. อญฺชลิกรณียอญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์)ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ.วิ. อญฺชลิกรณิโยยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุลอญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย.ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ.วิ. อญฺชลิกมฺมํกรณํอญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํอญฺชลิกรณํอรหตีติอญฺชลิกรณิโย.อียปัจ.ฐานตัท.ผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ.วิ. กตฺตพฺพสฺสอญฺชลิกรณสฺสอรหตีติอญฺชลิกรณิโย.เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำวิ. กตฺตพฺพสฺสอญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติอญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำโดยไม่หักวิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็นอญฺชลิกรณีโยแต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์เป็นอญฺชลีกรณิโยพึงสวดให้ถูกต้องด้วย.
  29. อญฺชลิกรณีย อญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์) ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ. วิ. อญฺชลิ กรณิโย ยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุล อญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย. ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก พึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก ทำ. วิ. อญฺชลิกมฺมํ กรณํ อญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํ อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิ กรณิโย. อียปัจ. ฐานตัท. ผู้ควรแก่อัญ ชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควร แก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ. วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อรหตีติ อญฺชลิกรณิโย. เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลี กรรมอันสัตว์โลกทำ วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติ อญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่ อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ โดยไม่หัก วิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็น อญฺชลิกรณี โย แต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์ เป็น อญฺชลีกรณิโย พึงสวดให้ถูกต้อง ด้วย.
  30. อมฺพมนฺต : (ปุ.) มนต์อันยังมะม่วงให้ผลิตผล.วิ.อมฺพนิปฺผตฺติโกมนฺโตอมฺพมนฺโต.
  31. อาคม : (ปุ.) การมา, การมาถึง, นิกายเป็นที่มา, นิกายเป็นที่มาแห่งมรรคและผล, บาลี, พระบาลี, อาคม (การมาของอักษรคือการลงอักษรเป็นวิธีของบาลีไวยากรณ์อย่างหนึ่งศาสตร์ คัมภีร์มนต์ เวทมนต์).วิ.อาคมนํอาคโม.ส.อาคม.
  32. อาถพฺพณิก : ป., ค. หมอยาทางไสยศาสตร์, ผู้ชำนาญเวทมนต์คาถา
  33. อาราธน : (นปุ.) การยัง....ให้ยินดี, การยัง....ให้โปรดปาน, การเชื้อเชิญ, การยินดี, การนิ-มนต์, การอ้อนวอน, การให้สำเร็จ, การบรรลุ, การถึง, การอาราธนา (การขอ).อาปุพฺโพ, ราธฺสํสิทฺธิยํ, ยุ.ไทยใช้อารา-ธนาเป็นกิริยาในความว่าขออ้อนวอนเชื้อเชิญส.อาราธน.
  34. จิราย : อ. เพื่อกาลนาน, ชั่วกาลนาน
  35. จิรายติ : ก. ประพฤติชั่วช้า, ช้า, ล่าช้า
  36. ปารายณิก : ค. ผู้เรียนเรื่องโบราณ, นักศึกษาโบราณคดี
  37. ปารายน : นป. การมีคติเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, จุดมุ่งหมายอันสูงสุด
  38. มจฺฉรายติ : ก. เห็นแก่ตัว, ตระหนี่
  39. มจฺฉรายนา : (อิต.) กิริยาที่ตระหนี่.
  40. มนฺตี : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีความคิด, มนตรี (ผู้ปรึกษาราชการ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่).
  41. สรายน : (นปุ.) วัตถุเป็นที่ไปของลูกศร, ธนูศร.
  42. ฆาเตตาย : (วิ.) ควรฆ่า วิ. ฆาเตตุ อรหตีติ ฆาเตตาโย. อาย หรือ ราย ปัจ. ลบ ตุ.
  43. ปพฺพาเชตาย : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันสงฆ์ขับไล่, ผู้ ควรขับไล่. วิ. ปพฺพาเชตุ อรหตีติ ปพฺ พาเชตาโย. ราย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๗.
  44. กิตก : (ปุ.) ศัพท์อันเรี่ยรายด้วยกิตปัจจัย, กิตก์ ชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย ปัจจัยหมู่หนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของนาม ศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ต่าง ๆ กัน. จากบาลี ไวยากรณ์กิตก์. วิ. กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก. กิบทหน้า กิรฺธาตุ ในความเรี่ยราย รปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง อิ ที่ กิ ตัว ธาตุเป็น อ และลบตัวเอง (รปัจ.).
  45. ขนฺติมนฺตุ : (วิ.) ผู้มีความอดทน, ฯลฯ. มนฺตุ ปัจ.
  46. คุณิฏฺฐ คุณิย : (วิ.) มีคุณที่สุด มีคุณกว่า. คุณวนฺตุ, คุณมนฺตุ+อิฏฐ, อิย ปัจ. ลบ วนฺตุ, มนฺตุ วิ. สพฺเพ อิเม คุณวนฺโต คุณมนฺโต วา, อยมิเมสํ วิเสเสน คุณวา คุณมา วาติ คุณิฏฺโฐ คุณิโย. รูปฯ๓๘๐.
  47. ติตฺถิยปริวาส : (ปุ.) ติตฺถิยปริวาส ชื่อของ กรรมวิธีตรวจสอบเดียรถีย์ ผู้ที่จะมาบวช ในพุทธศาสนาว่าจะมีความเลื่อมใสแท้จริง หรือไม่ มีกำหนด ๔ เดือน ดูรายละเอียด ใน โตร. ๔ ข้อ ๑๐๐ วิธีนี้ควรจะเอามา ประยุกต์ใช้กับคนที่จะมาบวชในปัจจุบัน นี้บ้าง.
  48. ทฺวิโคจร : (ปุ.) การปรึกษาอันเป็นวิสัยของคนสองคน วิ . ทฺวินฺนํ ชนานํ โคจรภูโตวิสยภูโต(มนฺโต) ทฺวิโคจโร.
  49. ทิวสวลญฺช : (ปุ.) การใช้สอยในวันๆ, ค่าใช้ สอยในวันๆ, ค่าใช้จ่ายในวันๆ, รายจ่ายในวันๆ, รายจ่ายประจำวัน. วิ. ทิวเส ทิวเส วลญฺชิตพฺโพ ทิวสวลญฺโช. ทิวสทิสปุพฺโพ, วลชิ วลญฺชเน, อ. ลบ ทิวส ๑ ศัพท์
  50. ธิติมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มี ความเพียรเป็นที่ตั้ง, มีความเพียร, ฯลฯ. วิ. ธิติ อสฺส อตฺถีติ ธิติมา. มนฺตุ ปัจ.
  51. [1-50] | 51-72

(0.0648 sec)