คนฺถ : (วิ.) แต่ง, ร้อยกรอง, เรียบเรียง.
สงฺคายติ : ก. ขับกล่อม, สวด, ร้อยกรอง, ซักซ้อม
ปพนฺธ : (วิ.) แต่ง, แต่งขึ้น, ผูกขึ้น, เรียบเรียง, ร้อยกรอง. ปปุพฺโพ, พนฺธ พนฺธเน, อ.
ทารุจีวร : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลกรองแล้วด้วยเปลือกไม้. กรองคือ ร้อย ถัก ทอ.
กวฺย : นป. กาพย์, คำประพันธ์ชนิดร้อยกรอง
กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
คณฺฐ : (ปุ.) ตำรับ, ตำรา, คัมภีร์, สมุด, หนังสือที่แต่งขึ้น, หนังสือที่ร้อยกรองขึ้น. คนฺถฺ สนฺถมฺเภ, พนฺธเน จ, อ, นฺถสฺส ณฺโฐ.
คนฺถการ : ป. ผู้แต่งหนังสือ, ผู้ร้อยกรอง, ผู้รจนาพระคัมภีร์
คนฺถน : นป. การถัก, การบิด; การแต่งความ, การร้อยกรอง
คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
จินฺตากวิ : ป. จินตกวี, ผู้สามารถในการแต่งร้อยกรองตามแนวความคิดของตน
ทมฺภน. : (นปุ.) การร้อยกรอง, การเรียบเรียง, การแต่ง. ทมฺภิ คนฺถเน, ยุ.
ธมฺมสคีติ ธมฺมสงฺคีติ : (อิต.) การร้อยกรองซึ่งธรรม, การสังคายนาซึ่งธรรม, การ ร้อยกรองธรรม, การสังคายนามธรรม (คือการชำระพระธรรมวินัย คัดเอาคำที่ถูกต้องไว้).
ธมฺมสงฺคาหก : ค. ผู้ร้อยกรองหรือแต่งพระคัมภีร์
ธมฺมสงฺคีติ : อิต. การร้อยกรองธรรม
รจนา : (อิต.) การแต่ง, การร้อยกรอง, การประพันธ์, รจนา (การแต่งหนังสือ). รจฺ ปฏิยตเน, ยุ.
สงฺคีต : กิต. ขับกล่อมแล้ว, ร้อยกรองแล้ว
สงฺคีติ : อิต. การขับกล่อม, การสวด, การร้อยกรอง, การซักซ้อม
สูจก : (วิ.) ผู้แต่ง, ผู้ร้อยกรอง, ผู้ชี้แจง, ผู้ประกาศ. สูจฺ คนฺถเน, ณฺวุ. ผู้ส่อเสียด, ผู้พูดส่อเสียด. สูจฺ เปสุญฺเญ.
จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
เอกูนสต : (นปุ.) ร้อยหย่อนด้วยหนึ่ง, ร้อย หย่อนหนึ่ง, เก้าสิบเก้า.
สหสฺส : (นปุ.) พัน (จำนวน ๑๐ ร้อย) วิ. สตสฺส ทสคุณิตํ สหสฺสํ. รูปฯ ๔๐๐. ทสสตํ สหสฺสํ. อภิฯ. ส. สหสฺร.
กฏจฺฉุปริสฺสาวน : (นปุ.) ผ้าสำหรับกรองน้ำ มีรูปคล้ายช้อน.
กมฺพุคีวา : (อิต.) คองามคล้ายกรองทอง คือ คอมีปล้อง ๓ ปล้อง เป็นลักษณะอย่าง หนึ่งของมหาปุริสลักษณะ, คอปล้อง. วิ. กมฺพุมเยน อาลิงฺเคน สนฺนิภา คีวา กมฺพุคีวา.
กรก : (ปุ.) ทับทิม, ต้นทับทิม, คนโทน้ำ, ภาชนะน้ำของนักบวช, กรก, ธมกรก (กระบอกกรองน้ำของพระ), กะลา. กรฺ ธาตุ ณฺวุ ปัจ. ส. กรก.
กายคนฺถ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดทางกาย.
กายคนฺธ : ป. กิเลสเครื่องร้อยรัดกาย; กลิ่นเกิดจากกาย, เครื่องหมอสำหรับลูบไล้ร่างกาย
การก : (ปุ.) ผ้ากรองน้ำ, คนผู้ทำ. ทาง ไวยากรณ์ การกมี ๗ มีกัตตุการกเป็นต้น. ส. การก ผู้ทำ.
กาลสต : นป. ร้อยชาติ, ร้อยครั้ง
กูฏาคารสต : (นปุ.) ร้อยแห่งเรือนอันประกอบ แล้วด้วยยอด, ร้อยแห่งเรือนยอด.
คนฺถปฺปโมจน : นป. การหลุดพ้นจากเครื่องร้อยรัด
จงฺควาร : ป. หม้อกรองน้ำด่าง, หม้อกรองน้ำนม
จาลนี : อิต. เครื่องกรอง (ยา), ตะแกรงร่อนยา
จิตฺตคนฺถ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดทางจิต.
จีรย : ค. ผ้าซึ่งทำด้วยเปลือกไม้กรอง
จีรวาสิก : นป. ผ้าเปลือกไม้กรอง
จุณฺณจาลนี, จุณฺณกจาลนี : อิต. เครื่องกรองยาผง, ตะแกรงร่อนยาผง
ฉสต : นป. หกร้อย
ฉินฺนคนฺถ : ค. ผู้ไม่มีเครื่องผูกมัด, ผู้ไม่มีเครื่องร้อยรัด
ติโยชนสตปริมณฺฑล : (วิ.) มีร้อยแห่งโยชน์ สามเป็นปริมณฑล, มีปริมณฑลสามร้อย โยชน์.
ติสต : (นปุ.) หมวดสามแห่งร้อย วิ. สตสฺส ติกํ ติสตํ. แปรติก ไว้หน้าและลบ ก รูปฯ ๓๙๙.
ทณฺฑปริสฺสาวน : นป. เครื่องกรองน้ำมีหู, เครื่องกรองน้ำมีที่ถือ
ทฺวิสต : (นปุ.) ร้อยสอง, สองร้อย. วิ. เทฺว สตานิ ทฺวิสตํ ทฺวิสตานิ วา. หมวดสอง แห่งร้อย วิ. สตสฺส ทฺวิกํ ทฺวิสตํ. ฉ. ตัป. ลบ ก แล้ว กลับบท รูปฯ ๓๙๙.
ทสสต : นป. สิบร้อย, หนึ่งพัน
ทสสตนยน : (ปุ.) เทพผู้มีนัยน์ตาร้อยสิบหน, เทวดาผู้มีนัยนืตาพันหนึ่ง, เทวดาผู้มี นัยน์ตาหนึ่งพัน, ท้าวสหัสนัยน์ ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๑๐ ชื่อ, พระอินทร์, วิ. ทสสตานิ นยนานิ ยสฺส โส ทสสตนยโน.
ทารุจีริย : ค. (ผ้า) ซึ่งกรองด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้กรอง
ทิฏฺฐสโยชน : (นปุ.) กิเลสขาดเครื่องร้อยรัด คือทิฎฐิ, ความร้อยรัดคือทิฎฐิ, คสามร้อยรัดอันเกิดจากทิฎฐิ.
ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
ทิยฑฺฒสหสฺสปริจาริกา : (อิต.) นางบำเรอมี พันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณ, นางบำเรอหนึ่งพันห้าร้อยนาง.