เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
หาร : (ปุ.) แก้วมุกดาที่ร้อยด้วยด้าย, สร้อยไข่มุก, สร้อยคอ, สายสร้อย. วิ. หรียเต มโน เยน โส หาโร. หรฺ หรเณ, โณ.
จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
เอกูนสต : (นปุ.) ร้อยหย่อนด้วยหนึ่ง, ร้อย หย่อนหนึ่ง, เก้าสิบเก้า.
ตกฺการี : (อิต.) คนทา ชื่อพรรณไม้สกุลปลา ไหลเผือกรากใช้เป็นยาแก้ไข้ในกลุ่มยา ๕ ราก โบราณเรียกว่ายาแก้ว ๕ ดวง หรือยา แก้ว ๕ ราก วิ. ตํ ตํ โรคขยนาทิกํ กโรตีติ ตกฺการี. ณีปัจ.
ทารุจีวร : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลกรองแล้วด้วยเปลือกไม้. กรองคือ ร้อย ถัก ทอ.
สหสฺส : (นปุ.) พัน (จำนวน ๑๐ ร้อย) วิ. สตสฺส ทสคุณิตํ สหสฺสํ. รูปฯ ๔๐๐. ทสสตํ สหสฺสํ. อภิฯ. ส. สหสฺร.
กพรมณิ : (ปุ. อิต.) แก้วลาย, เพชรตาแมว, แก้วตาแมว. วิ. กพโร สพโฬ มณิ กรพมณิ.
กวฺย : นป. กาพย์, คำประพันธ์ชนิดร้อยกรอง
กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
กาจภณฺฑ : (นปุ.) เครื่องแก้ว.
กาจมย : ค. ทำด้วยแก้ว, สำเร็จด้วยแก้ว
กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
กายคนฺถ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดทางกาย.
กายคนฺธ : ป. กิเลสเครื่องร้อยรัดกาย; กลิ่นเกิดจากกาย, เครื่องหมอสำหรับลูบไล้ร่างกาย
กาลสต : นป. ร้อยชาติ, ร้อยครั้ง
กุนฏิ : อิต. หินแก้วสีแดง; เม็ดผักชี
กุมารีรตน : (นปุ.) รตนะคือนาง, นางแก้ว.
กุลิส : (ปุ. นปุ.) กุลิสะ ชื่ออาวุธพระอินทร์, ขวานฟ้า, แก้ววิเชียร. วิ. กุลิมฺหิ สกฺกสฺส หตฺเถ เสติ ติฏฺฐตีติ กุลิสํ. กุลิปุพฺโพ, สิ คติยํ, อ. กลียตีติ วา กุลิสํ. กลฺ สํวรเณ, อิโส, อสฺสุ.
กูฏาคารสต : (นปุ.) ร้อยแห่งเรือนอันประกอบ แล้วด้วยยอด, ร้อยแห่งเรือนยอด.
ขฏขาทก : ป. ถ้วยแก้ว; สุนัขจิ้งจอก; กา
คณฺฐ : (ปุ.) ตำรับ, ตำรา, คัมภีร์, สมุด, หนังสือที่แต่งขึ้น, หนังสือที่ร้อยกรองขึ้น. คนฺถฺ สนฺถมฺเภ, พนฺธเน จ, อ, นฺถสฺส ณฺโฐ.
คนฺถ : (วิ.) แต่ง, ร้อยกรอง, เรียบเรียง.
คนฺถการ : ป. ผู้แต่งหนังสือ, ผู้ร้อยกรอง, ผู้รจนาพระคัมภีร์
คนฺถน : นป. การถัก, การบิด; การแต่งความ, การร้อยกรอง
คนฺถปฺปโมจน : นป. การหลุดพ้นจากเครื่องร้อยรัด
คนฺธเสล : (ปุ.) แก้วหอม.
คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
จกฺกรตน : นป. จักรรัตน, รัตนคือจักร, จักรแก้ว (ของพระเจ้าจักรพรรดิ)
จนฺทกนฺต : ป. แก้วชนิดหนึ่งชื่อว่า จันทกันต์; ไม้จันทน์; บัวขาว
จสก : (ปุ.) ขัน (ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ), จอก (ภาชนะเล็กๆสำหรับตักน้ำในขัน ใหญ่), กระบวย (ภาชนะสำหรับตักน้ำทำ ด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ ทำด้วยสิ่ง อื่นๆบ้าง), แก้วน้ำ. จสฺ ภกฺขเณ, อ, สตฺเถโก. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณฺวุ ปัจ.
จิตฺตคนฺถ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดทางจิต.
จินฺตา : (อิต.) ความนึก, ฯลฯ. วิ. จินฺตนํ จินฺตา. ปัญญาเป็นเครื่องคิด วิ. จินฺตนา จินฺตา. จินดา ไทยใช้ในความหมายว่า แก้วมีค่า.
จินฺตากวิ : ป. จินตกวี, ผู้สามารถในการแต่งร้อยกรองตามแนวความคิดของตน
จินฺตามณิ : ป. จินดามณี, แก้วสารพัดนึก
จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
ฉสต : นป. หกร้อย
ฉินฺนคนฺถ : ค. ผู้ไม่มีเครื่องผูกมัด, ผู้ไม่มีเครื่องร้อยรัด
ชาติมณิ : ป. แก้วมณีที่มีค่าล้ำ, แก้วมณีมีค่ามาก
ฐปิตมณิรตน : (นปุ.) แก้วคือแก้วมณีอันบุคคล ตั้งไว้.
ตารามณิวิตาน : นป. เพดานที่ประดับด้วยดาวซึ่งทำด้วยแก้ว
ติโยชนสตปริมณฺฑล : (วิ.) มีร้อยแห่งโยชน์ สามเป็นปริมณฑล, มีปริมณฑลสามร้อย โยชน์.
ติสต : (นปุ.) หมวดสามแห่งร้อย วิ. สตสฺส ติกํ ติสตํ. แปรติก ไว้หน้าและลบ ก รูปฯ ๓๙๙.
ทมฺภน. : (นปุ.) การร้อยกรอง, การเรียบเรียง, การแต่ง. ทมฺภิ คนฺถเน, ยุ.
ทฺวิสต : (นปุ.) ร้อยสอง, สองร้อย. วิ. เทฺว สตานิ ทฺวิสตํ ทฺวิสตานิ วา. หมวดสอง แห่งร้อย วิ. สตสฺส ทฺวิกํ ทฺวิสตํ. ฉ. ตัป. ลบ ก แล้ว กลับบท รูปฯ ๓๙๙.
ทสสต : นป. สิบร้อย, หนึ่งพัน
ทสสตนยน : (ปุ.) เทพผู้มีนัยน์ตาร้อยสิบหน, เทวดาผู้มีนัยนืตาพันหนึ่ง, เทวดาผู้มี นัยน์ตาหนึ่งพัน, ท้าวสหัสนัยน์ ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๑๐ ชื่อ, พระอินทร์, วิ. ทสสตานิ นยนานิ ยสฺส โส ทสสตนยโน.
ทาฐาธาตุ : อิต. พระเขี้ยวแก้ว (ของพระพุทธเจ้า)