Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ร้อย , then รอย, ร้อย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ร้อย, 132 found, display 1-50
  1. จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
  2. เอกูนสต : (นปุ.) ร้อยหย่อนด้วยหนึ่ง, ร้อย หย่อนหนึ่ง, เก้าสิบเก้า.
  3. ทารุจีวร : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลกรองแล้วด้วยเปลือกไม้. กรองคือ ร้อย ถัก ทอ.
  4. สหสฺส : (นปุ.) พัน (จำนวน ๑๐ ร้อย) วิ. สตสฺส ทสคุณิตํ สหสฺสํ. รูปฯ ๔๐๐. ทสสตํ สหสฺสํ. อภิฯ. ส. สหสฺร.
  5. กวฺย : นป. กาพย์, คำประพันธ์ชนิดร้อยกรอง
  6. กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
  7. กายคนฺถ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดทางกาย.
  8. กายคนฺธ : ป. กิเลสเครื่องร้อยรัดกาย; กลิ่นเกิดจากกาย, เครื่องหมอสำหรับลูบไล้ร่างกาย
  9. กาลสต : นป. ร้อยชาติ, ร้อยครั้ง
  10. กูฏาคารสต : (นปุ.) ร้อยแห่งเรือนอันประกอบ แล้วด้วยยอด, ร้อยแห่งเรือนยอด.
  11. คณฺฐ : (ปุ.) ตำรับ, ตำรา, คัมภีร์, สมุด, หนังสือที่แต่งขึ้น, หนังสือที่ร้อยกรองขึ้น. คนฺถฺ สนฺถมฺเภ, พนฺธเน จ, อ, นฺถสฺส ณฺโฐ.
  12. คนฺถ : (วิ.) แต่ง, ร้อยกรอง, เรียบเรียง.
  13. คนฺถการ : ป. ผู้แต่งหนังสือ, ผู้ร้อยกรอง, ผู้รจนาพระคัมภีร์
  14. คนฺถน : นป. การถัก, การบิด; การแต่งความ, การร้อยกรอง
  15. คนฺถปฺปโมจน : นป. การหลุดพ้นจากเครื่องร้อยรัด
  16. คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
  17. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  18. จิตฺตคนฺถ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดทางจิต.
  19. จินฺตากวิ : ป. จินตกวี, ผู้สามารถในการแต่งร้อยกรองตามแนวความคิดของตน
  20. ฉสต : นป. หกร้อย
  21. ฉินฺนคนฺถ : ค. ผู้ไม่มีเครื่องผูกมัด, ผู้ไม่มีเครื่องร้อยรัด
  22. ติโยชนสตปริมณฺฑล : (วิ.) มีร้อยแห่งโยชน์ สามเป็นปริมณฑล, มีปริมณฑลสามร้อย โยชน์.
  23. ติสต : (นปุ.) หมวดสามแห่งร้อย วิ. สตสฺส ติกํ ติสตํ. แปรติก ไว้หน้าและลบ ก รูปฯ ๓๙๙.
  24. ทมฺภน. : (นปุ.) การร้อยกรอง, การเรียบเรียง, การแต่ง. ทมฺภิ คนฺถเน, ยุ.
  25. ทฺวิสต : (นปุ.) ร้อยสอง, สองร้อย. วิ. เทฺว สตานิ ทฺวิสตํ ทฺวิสตานิ วา. หมวดสอง แห่งร้อย วิ. สตสฺส ทฺวิกํ ทฺวิสตํ. ฉ. ตัป. ลบ ก แล้ว กลับบท รูปฯ ๓๙๙.
  26. ทสสต : นป. สิบร้อย, หนึ่งพัน
  27. ทสสตนยน : (ปุ.) เทพผู้มีนัยน์ตาร้อยสิบหน, เทวดาผู้มีนัยนืตาพันหนึ่ง, เทวดาผู้มี นัยน์ตาหนึ่งพัน, ท้าวสหัสนัยน์ ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๑๐ ชื่อ, พระอินทร์, วิ. ทสสตานิ นยนานิ ยสฺส โส ทสสตนยโน.
  28. ทิฏฺฐสโยชน : (นปุ.) กิเลสขาดเครื่องร้อยรัด คือทิฎฐิ, ความร้อยรัดคือทิฎฐิ, คสามร้อยรัดอันเกิดจากทิฎฐิ.
  29. ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  30. ทิยฑฺฒสหสฺสปริจาริกา : (อิต.) นางบำเรอมี พันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณ, นางบำเรอหนึ่งพันห้าร้อยนาง.
  31. ธนุปญฺจสต : (นปุ.) ร้อยห้าแห่งธนู, ห้าร้อย ชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนูเป็น ๑ โกสะ. วิ. อาโรปิตานํ อาจริยธนูนํ ปญฺจสตํ ธนุปญฺจสตํ. วิ. นี้เฉพาะคำแปลหลัง. ธนุปญฺจสตํ โกโส นาม.
  32. ธมฺมสคีติ ธมฺมสงฺคีติ : (อิต.) การร้อยกรองซึ่งธรรม, การสังคายนาซึ่งธรรม, การ ร้อยกรองธรรม, การสังคายนามธรรม (คือการชำระพระธรรมวินัย คัดเอาคำที่ถูกต้องไว้).
  33. ธมฺมสงฺคาหก : ค. ผู้ร้อยกรองหรือแต่งพระคัมภีร์
  34. ธมฺมสงฺคีติ : อิต. การร้อยกรองธรรม
  35. นวสต : (นปุ.) ร้อยเก้า, ร้อยเก้าหน, เก้าร้อย.
  36. นาสารชฺชุ : อิต. เชือกร้อยจมูก
  37. นิคณฺฐ นิคฺคณฺฐ : (ปุ.) คนมีกิเลสพัวพัน วิ. จตูหิ คนฺเถหิ พนฺธนียตฺตา นิคณฺโฐ นิคฺคณฺโฐ วา. นิปุพฺโพ, คถิ พนฺธเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น นฺ เป็น คนฺถ แปลง นถฺ เป็น ณฺฐ. คนปราศจาก เครื่องผูกเครื่องร้อยรัด. นิคต+คณฺฐ. นิครนถ์ ชื่อนักบวชนอกพุทธศาสนา นักบวชของศาสนาเช่น.
  38. นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
  39. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  40. ปฏิสเตน : อ. โดยจำนวนร้อย, คราวละร้อย, (ได้ค่าตัวคืน) ละร้อย (กษาปณ์)
  41. ปฏิสิพฺพิต : กิต. (อันเขา) เย็บแล้ว, เย็บติดแล้ว, ถักแล้ว, ร้อยแล้ว
  42. ปพนฺธ : (วิ.) แต่ง, แต่งขึ้น, ผูกขึ้น, เรียบเรียง, ร้อยกรอง. ปปุพฺโพ, พนฺธ พนฺธเน, อ.
  43. ปโรสต : ค. มากกว่าร้อย
  44. ปสิพฺพิต : กิต. อัน...รึงรัด, อัน...เย็บ, อัน...ร้อยรัดแล้ว
  45. พาน : (นปุ.) เครื่องร้อยรัด, ตัณหา. ดู วาน.
  46. มาลฺย : (นปุ.) พวง, พวงดอกไม้, มาลัย (ดอกไม้ที่ร้อยเป็นพวง). มาลา+ณฺย ปัจ. ลบ ณฺ รัสสะ.
  47. มาลาคุณ : ป. เชือกร้อยดอกไม้
  48. รจนา : (อิต.) การแต่ง, การร้อยกรอง, การประพันธ์, รจนา (การแต่งหนังสือ). รจฺ ปฏิยตเน, ยุ.
  49. วาน : นป. เครื่องร้อยรัด, ตัณหา
  50. สงฺคายติ : ก. ขับกล่อม, สวด, ร้อยกรอง, ซักซ้อม
  51. [1-50] | 51-100 | 101-132

(0.0254 sec)