ร : (ปุ.) ความปรารถนา, ความรัก, ความใคร่, ไฟ.
อุนฺทุ (ทู) ร : ป. หนู
รชนี รชฺชนี : (อิต.) ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), เวลาค่ำ, เวลามืด, กลางคืน, ค่ำคืน, รัชนี. วิ. รญฺชนฺติ ราคิโน อตฺราติ รชนี. ยุ, อิตฺถยํ อี. ศัพท์หลังแปลง ช เป็น ชฺช.
รชกฺข : ค. มีกิเลส
รชกฺขนฺธ : ป. กองกิเลส
รชนกมฺม : นป. การย้อม
รชนี : อิต. กลางคืน
รชนีย : ค. ซึ่งล่อใจ, เร้าใจให้ตื่นเต้น
รสมนฺตุ : (ปุ.) พระอาทิตย์, ดวงอาทิตย์. วิ. รํสิ อสฺสาตฺถีติ รํสิมา. มนฺตุ ปัจ.
รสิ : (อิต.) แสง, แสงสว่าง, รังสิ, รังสี, รัศมี. วิ. รสนฺติ ตํ สตฺตาติ รํสิ. รสฺ อสฺสาทเน, อิ, นิคฺคหิตคโม.
รสิมนฺตุ : ค. มีแสงสว่าง ( หมายเอาพระอาทิตย์ )
รหาภาว : ป. ความเปิดเผย, ความไม่ลับ
เสขร : (ปุ.) ดอกไม้กรองบนศรีษะ, ดอกไม้ประดับบนศรีษะ, เทริด, มงกุฎ. วิ. สิขายํ ชาโต เสขโร. ร ปัจ. พฤทธิ อิ เป็น เอ. ลูกประคำ ก็แปล.
กึกร กึการ : (ปุ.) คนใช้ (คนรับใช้), ทาส, บ่าว. วิ. กิญฺจิ กโรตีติ กึกโร กึกาโร วา. กึปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, โณ. อห มชฺช กึ กริสฺสามีติ ภตฺตุ กตฺตพฺพกิจฺจยาจนตฺตา วา กึกาโร. ส. กึกร กิงฺกร.
กุญฺจิกาวิวร : (นปุ.) ช่องแห่งกุญแจ, ช่อง กุญแจ, ช่องดาฬ. กุญฺจิกา+วิวร.
จิตฺต จิตฺร : (วิ.) ไพเราะ, งาม, งดงาม, สวยงาม, ตระการ, ประหลาด, แปลก, หลากสี, หลายสี, เรื่อเรือง เรืองรอง, ด่าง, พร้อย, ดำมอๆ, วิจิต, วิจิตร. จิตฺตฺ จิตฺติกรเณ, อ. ส. จิตฺร.
อสาร : (วิ.) เปล่า, ว่าง, หาแก่นมิได้, ไม่มีแก่น.วิ.นตฺถิสาโรยสฺมึตํอสารํ.ส.อสาร.
กพฺพการ, กพฺพการก : ป. นักกาพย์, นักกลอน, กวี
กรีร : (ปุ.) ดองดึง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งใช้ทำยา, สวาท ไม้เถาชนิดหนึ่ง มีหนาม เมล็ดกลม เปลือกแข็งสีเทาเจือเขียว. กรฺ กรเณ, อีโร.
กลีร : (นปุ.) ผัก (สำหรับดอง หรือแกง).
กลีร กฬีร : (ปุ.) ไม้ที่งอก, หน่อไม้ (ที่งอกจาก หัวหรือเหง้า), ยอดไม้, หยวกกล้วย. วิ. อเนน ถูลาทิ กลียตีติ กลีโร. กลฺ สํขฺยาเณ, อีโร.
กสิร : (วิ.) ทุกข์, ลำบาก, คับแคบ, ฝืดเคือง, กระเสียร.
กึกร, กิงฺกร : ป. คนที่ทำกิจอะไรๆ ได้, คนใช้, บ่าว, ทาส
กุชวาร : (ปุ.) วันอังคาร.
กุมาริกา, - รี : อิต. กุมารี, เด็กหญิง, เด็กหญิงวัยรุ่น, หญิงพรหมจารี
กุรู, - รุ : ป. ชาวแคว้นกุรุ, แคว้นกุรุ
จริตฺต จริตฺร : (นปุ.) ความประพฤติ. ศัพท์แรก ต. ปัจ. แปลง ต เป็น ตฺต ศัพท์หลัง ตฺรณฺ ปัจ. อิ อาคม.
จิตฺร : (นปุ.) สี, การฉาบทา, ท้องฟ้า ?
ตาวร : (ปุ.) สายธนู.
ทหรา, - รี, - ริกา : อิต. เด็กหญิง, หญิงสาว
เทวร : (ปุ.) พี่น้องชายของผัว, แปลว่า พี่ผัวหรือน้องผัวก็ได้แล้วแต่เนื้อความของที่นั้น ถ้าเป็น พหุ. แปลว่าพี่ผัวและน้องผัว. วิเทวนฺติ เอเตนาติ เทวโร. ทิวุ กีฬายํ. อโร. แปลง อิ เป็น เอ. ฎีกาอภิฯ สามิภาตา กนิฎโฐ สามิโน ภาตา เทวโร นาม.
ธนุการ, - รี : ป. ผู้ทำธนู, ผู้ทำศร, ช่างธนู, ช่างศร
นชฺชนตร : (นปุ.) นัชชันดร ชื่อมหานทีที่ ๕.
นมสฺสการ : (ปุ.) การทำซึ่งการนอบน้อม, ฯลฯ, นมัสการ. คำนมัสการใช้ในความหมาย ว่า ไหว้ เป็นส่วนมาก. ส. นมสฺการ.
นาลิเกร นาฬิเกร : (ปุ.) มะพร้าว, กัจฯ และ รูปฯ ลง เณร ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง อิร ปัจ. และ ก ท้ายศัพท์ วิ. นาฬิ วิย ชายตีติ นาฬิเกโร. ส. นาริเกร, นาริเกล.
นาฬิเกร : ๑. ป. ต้นมะพร้าว;
๒. นป. มะพร้าว
นิรยาปถ : (ปุ.) คนถ่อย, คนเปลือย.
ปนฺนภาร : ค. ผู้มีภาระอันปลงลงแล้ว, ผู้ปลงภาระลงแล้ว, ผู้หมดภาระ, ผู้เสร็จกิจ, ผู้หลุดพ้นแล้ว
ปริพาหิร : ค. ภายนอก
ปสุร : ค. มากมาย, เหลือล้น
ปุริสการ : (ปุ.) ความเพียรอันบุคคลพึงกระทำเป็นของแห่งบุรุษ, ความเพียรเครื่องกระทำของบุรษ.
พการ : ป. ตัวอักษร พ
พฺยวหาร : (ปุ.) การนำลงพิเศษ, ธรรมเนียม. วิ+อวหาร.
พาหิร : (วิ.) มีในภายนอก, เกิดในภายนอก. พหิ+อิร ปัจ.
พาหิรทาน : นป. ทานภายนอก, ทานที่มอบให้แก่คนภายนอก (พุทธศาสนา)
พาหิร พาหิรา : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ใน ภายนอก.
พาหิรรกฺขา : อิต. การป้องกัน, การรักษาโดยวิธีภายนอก
พาหิรโลมี : ค. มีขนในภายนอก
มุขร : (วิ.) ปากกล้า, พูดไม่เกรงกลัวใคร.
มุขรชน : (นปุ.) สีทาปาก, ลิปสติก.