นิวาต : (วิ.) มีลมออกแล้ว, ไม่จองหอง, ไม่ พองตัว, ไม่เย่อหยิ่ง สงบ, เสงี่ยม, สงบเสงี่ยม, เจียมตัว, สุภาพ, เรียบร้อย, สุภาพเรียบร้อย, อ่อนโยน, ละมุนละม่อม. ส. นิวาต.
ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
เปลว : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง. วิ. ปิโย ลโว ยสฺมึ ตํ เปลวํ. ปิยสฺส เป. เปลิ คมเน วา อโว, ปิลฺ วตฺตเน วา.
พุทฺธสุขุมาล : ป. พระพุทธเจ้าผู้ละเอียดอ่อน, ผู้มีเชื้อชาติดี, ผู้ละเมียดละไม
มุทุ มุทุก : (วิ.) อ่อน,อ่อนโยน, อ่อนหวาน, ละมุนละม่อม, ละเอียด. แปลว่า ช้า เกียจคร้าน ทื่อ ไม่เฉียบแหลม ก็มี.
สุภาว : (ปุ.) ความเห็นดี, ความมีดี, ความเกิดดี, ความเรียบร้อย, ความอ่อนโยน, ความละมุนละม่อม, สุภาพ.
ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ;
๒. นป. หัว, ผม; น้ำ;
๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
กายธาตุ : อิต. กายธาตุ, หมวดกาย, ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายคือ ดิน, น้ำ, ลม, ไฟ
อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
กิลมณ กิลมน : (นปุ.) ความลำบาก, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
กิลมติ : ก. เหน็ดเหนื่อย, เมื่อยล้า, ลำบาก
ขุลฺลม : ป. ถนน, ทางเดินเท้า
ปริกิลมติ : ก. ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย
โลม : นป. ขน
อกิลมน : (วิ.) มีความลำบากหามิได้, ไม่มีความลำบาก, มิใช่ความลำบาก, มีความเหน็ดเหนื่อยหามิได้, ฯลฯ นปุพฺโพ, กิลมุ คิลาเน, ยุ.
อลมริย : ค. อย่างประเสริฐ, อย่างแท้จริง
อลฺลมสสรีร : ป. สรีระที่มีเนื้อหนังสด
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
กมฺปาก : ป. ลม
คนฺธวาห : (ปุ.) ลม (นำกลิ่นไป).
ฉุป : (ปุ.?) การถูก, การต้อง, การถูกต้อง, การรบกัน, สงคราม, เถาวัลย์, ลม. ฉุปฺ สมฺผลฺเส, อ. ส. ฉุป.
นิล : (นปุ.) ลม. นิปุพฺโพ, วา คติยํ, อ. วสฺส โล.
ผณิปิย : ป. ลม
มหาภูต : (ปุ. นปุ.) มหาภูต คือธาตุทั้ง ๔ ได้แก่ ดิน น้ำ ไฟ และ ลม.
มารุต : ป. ลม
มารุต มาลุต : (ปุ.) ลม วิ. อาหาโร วิย ปายา สภูโตปิ กทาจิ สตฺเต มาเรตีติ มารุโต มาลุโต วา. ศัพท์หลัง แปลง ร เป็น ล.
มาลุต : ป. ลม
วาต : ป. ลม
วาย : ป., นป. ลม
วายุ : นป. ลม
สมีร สมีรณ : (ปุ.) ลม วิ. สมนฺตโต อีรติ กมฺปติ ขิปติ รุกฺขาทโยติ สมีโร. สนฺตํ นิจฺจลํ อีรยติ กมฺเปตีติ สมีรโร. อีรฺ กมฺปเน, อ, ยุ. ส. สมีร. สมีรณ.
อารมฺมณูปนิชฺฌาน : (นปุ.) การเข้าไปเพ่งดิน น้ำไฟ ลม เป็นต้นเป็นอารมณ์, การเพ่งดิน น้ำไฟ ลมเป็นต้นเป็นอารมณ์, การที่จิตเข้าไปเพ่งอารมณ์ของกัมมัฏฐานอยู่อย่างแนบแน่น.
อุทฺธคม อุทฺธงฺคม : (ปุ.) ลมไปในเบื้องบน, ลมพัดขึ้นเบื้องบน, อุทธังคมวาต ชื่อ ลม ในกายอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. อุทฺธํปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ.
อนิล : (ปุ.) สภาพเป็นเครื่องเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตอากาศ, ลม.วิ.อนติ อเนนาติ อนิโล.อนฺปาณเน, อิโล.ส.อนิล.
กณฺฑล : (ปุ.) มะพูด ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใบใหญ่ หนาเป็นมัน ผลกลม รสเปรี้ยวอมหวาน.
กมฺมชวาต : ป. ลมกรรมชวาต, ลมเกิดแต่กรรม, ลมเบ่ง
กมฺมชวาต กมฺมชฺชวาต : (ปุ.) ลมเกิดแล้วแต่ กรรม ลมอันเกิดแต่กรรม, ลมเกิดแต่ กรรม, ลมเบ่ง, กัมมชวาต กัมมัชชวาต กรรมัชวาต (ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอด บุตร). ส. กรฺมชวาต.
กวาฏ : (ปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
กวาฏก : (นปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
กุจฺฉิฏฐ : ๑. ป. ลมในกายประเภทหนึ่ง, ลมในท้อง ;
๒. ค. ซึ่งอาศัยอยู่ในท้อง
กุจฺฉิฏฺฐ : (ปุ.) กุจฉิฏฐะ ชื่อลมภายในอย่างที่ ๓ ใน ๖ อย่าง, ลมในท้อง. วิ. กุจฺฉิมฺหิ ติฏฺฐตีติ กุจฺฉิฏฺโฐ. กุจฺฉิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺ สํโยโค.
โกฏฐาส : (ปุ.) ส่วน, ลมในท้อง. วิ. โกฏฺเฐ เสตีติ โกฏฺฐาโส.
โกฏฐาสย : ป. ลมในไส้
โกฏฺฐาสย : (ปุ.) โกฏฐาสยะ ชื่อลมในกาย อย่างที่ ๔ ใน ๖ อย่าง, ลมในไส้. วิ. โกฏฺเฐ อนฺเตเสติ ติฏฺฐตีติ โกฏฺฐาสโย. โกฏฺฐปุพฺโพ, สี สเย, อ. อัฏฐกถาแก้เป็น อนฺโตวาต.
โกฏฺฐาสยวาย : (ปุ.) ลมที่อยู่ในไส้, ลมในลำไส้. แปลว่า ลมในไส้ใหญ่ก็ได้.
ขค : ป. นก, ผู้ไปในท้องฟ้า; ลูกศร; พระอาทิตย์; ลมพระพาย
คุฒนีฑ : (ปุ.) นกกระเด้าลม.
ฆฏิกา : (อิต.) ลิ่ม, ไม้หึ่ง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง โดยโยนไม้ท่อนสั้นๆ ขึ้นไป แล้วใช้ไม้ อีกอันหนึ่งตี ใช้ผลมะนาวโยนขึ้นไป แล้ว ตีด้วยมือก็ได้, ชั่วโมง.
จกฺกวาต : (ปุ.) ลมบ้าหมู (ลมหมุน)