สญฺญา : อิต. ความจำได้, ความหมายรู้
ขณฺเฑติ : ก. ทำให้แตก, ทำลาย, ละเมิด, สละ, เลิก
ปญฺจขนฺธ : ป. ขันธ์ห้า (รูป, เวทนา, สัญญา, สังขาร, วิญญาณ)
ปฏิญฺญา : อิต. ปฏิญญา, คำรับรอง, คำมั่น, สัญญา, การตกลง, การให้การเห็นชอบ, การอนุญาต
ปฏิสฺสว : ป. การรับคำ, คำมั่น, สัญญา, การยอมฟังคำ, การเชื่อฟัง
อชฺฌาจรติ : ก. ประพฤติผิด, ละเมิด
อติกฺกมติ : ก. ก้าวล่วง, ละเมิด
อติจรติ : ก. จาริกไป, เที่ยวไป, ละเมิด, ล่วง
อปกโรติ : ก. ทำร้าย, ทำผิด, ละเมิด, ขว้างทิ้ง
อปราเธติ : ก. ฝ่าฝืน, ละเมิด
อปินาม : (อัพ. นิบาต) ลงในอรรถสรรเสริญ, นินทา, สัญญา, ปฏิญาณ.
อปิ นาม : (อัพ. นิบาต) ลงในอรรถสรรเสริญ, นินทา, สัญญา, ปฏิญาณ.
อพฺภตีต : ค., กิต. ล่วงไป, ก้าวล่วง, ละเมิด, ทอดทิ้ง
อุลฺลงฺเฆติ : ก. กระโดดขึ้น; บุกรุก, ละเมิด
โกเปติ : ก. ทำให้เกิดโกรธ, ละเมิด (กฎ)
สนฺธิสญฺญา : (อิต.) สัญญาติดต่อกัน, สนธิ สัญญา คือสัญญาติดต่อกันระหว่างรัฐต่อรัฐ.
อติกฺกมณก : ค. ละเมิด
กามสญฺญา : อิต. กามสัญญา, ความสำคัญในกาม
ทิวาสญฺญา : อิต. ทิวาสัญญา, ความสำคัญหมายว่ากลางวัน
นิโรธสญฺญา : อิต. นิโรธสัญญา, ความสำคัญในการดับ
ปฏิกูลสญฺญา : อิต. ปฏิกูลสัญญา, ความสำคัญว่าเป็นของปฏิกูล, ความกำหนดหมายว่าเป็นของน่ารังเกียจ
อภิสญฺญานิโรธ : ป. การดับสัญญา
อาโลกสญฺญา : อิต. อาโลกสัญญา, ความสำคัญว่ามีแสงสว่าง
กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
กายกมฺมญฺญตา : อิต. ความคล่องแห่งกาย, ความเป็นของควรแก่การงานแห่งกอง เวทนา, สัญญาและสังขาร
กายปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบระงับแห่งนามธรรมหรือเจตสิก, ความสงบระงับแห่งกองเวทนา, สัญญาและสังขาร
กายปาคุญฺญตา : อิต. ความคล่องแคล่วของกาย, ความคล่องแคล่วแห่งกองเวทนา, สัญญาและสังขาร
คนฺธสญฺญา : อิต. คันธสัญญา, ความสำคัญหมายในกลิ่น
ครุธมฺม : (ปุ.) ธรรมที่ควรเคารพ, ครุธรรม ธรรมหรือสิกขาบท ที่ล่วงละเมิดมิได้.
นานตฺตสญญา : (อิต.) สัญญาต่าง ๆ กัน.
นิโรธสมาปตฺติ : (อิต.) การเข้าสู่นิโรธ (เป็น วิธีพักผ่อนของท่านผู้ได้ฌาน.) นิโรธ ในคำนี้ได้แก่การดับสัญญาและเวทนา.
ปฏิชานาติ : ก. ปฏิญาณ, ยอมรับ (สารภาพ), ให้สัญญา, รับรอง, ตกลง, แสดงความเห็นชอบ
ปฏิสฺสุณาติ : ก. รับคำ, ยอมรับ, ตกลง, ให้สัญญา
ปปญฺจสญฺญาสงฺขา : อิต. ส่วนแห่งสัญญาอันประกอบด้วยปปัญจธรรม, ความคิดความกำหนดหมายที่หน่วงเหนี่ยวจิต, ความคิดปักใจ
ปาราชิก : ๑. ป. อาบัติที่ทำให้ผู้ต้องขาดจากความเป็นภิกษุ;
๒. ค. ผู้แพ้, ผู้ล่วงละเมิดสิกขาบทสำคัญของภิกษุ
มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
สจฺจการ : ค. ผู้ทำสัญญา
เสรี : (ปุ.) บุคคลผู้มีอิสระ (ทำหรือพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น). วิ. อตฺตนา อีริตํ สีล มสฺสาติ เสรี.
อคมนียวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่พึงถึง, วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่ควรล่วงวัตถุไม่ควรถึง, วัตถุต้องห้าม, อคมนียวัตถุ ได้แก่หญิงหรือชายที่กฎหมายหรือศีลธรรมระบุไว้มิให้ชายหรือหญิงผู้รักษาศีลธรรมล่วงละเมิดทางประเวณี.
อจฺจนฺต : (วิ.) จริงๆ, โดยแท้, โดยส่วนเดียว, ล่วงส่วน, ยิ่ง, ยิ่งนัก, เนื่องกัน, ถาวร, มั่นคง, สุดท้าย, มากมาย, ล่วงละเมิด.
อจฺจย : (ปุ.) การล่วงไป, การก้าวล่วง, การเป็นไปล่วง, การล่วงละเมิด, การดูหมิ่น, ความล่วงไป, ฯลฯ, ความผิด, โทษอันเป็นไปล่วง, โทษอันล่วงเกิน, กาลเป็นที่เป็นไปล่วง, ความล่วงลับไป, ความตาย, วิ. อติกฺกมิตฺวา อยนํ อจฺจโย.อติปุพฺโพ, อิ คติยํ, โณ. ส. อตฺยยฺ.
อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
อญฺญมญฺญปจฺจย : (วิ.) เป็นเครื่องสนับสนุนที่อิงอาศัยซึ่งกันและกันคือเวทนาสัญญาสังขารและวิญญาณ.
อติกฺกม : (ปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด, ความก้าวล่วง, ความล่วงละเมิด.
อติกฺกมน : (นปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด, ความก้าวล่วง, ความล่วงละเมิด.
อติกฺกมิตฺวา : กิต. ก้าวล่วงแล้ว, ละเมิดแล้ว
อติกนฺต : กิต. ละเมิดแล้ว, ก้าวล่วงแล้ว
อติกนฺติกา : อิต. การก้าวล่วง, การละเมิด
อติจรณ : นป. การก้าวล่วง, การละเมิด
อติจาร : ป. การล่วงละเมิด, การประพฤติผิด