คามนฺตร : นป. บ้าน, ละแวกบ้าน, ระหว่างบ้าน
อนฺตรฆร : (นปุ.) ระหว่างแห่งเรือน, ละแวกแห่งบ้าน, ละแวกบ้าน.
เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
นิเกต, นิเกตน : นป. อาคาร, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน
นิเกตุ : (ปุ.) การอยู่, การอาศัย, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, กิตฺ นิวาเส, โณ, ยุ. ส. นิเกต, นิเกตน.
นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
วสน : นป. การอยู่, ที่อยู่, บ้าน; เสื้อผ้า
สทน : นป. ที่อยู่, ที่กิน; บ้าน
อธิวาส : (ปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับ, การรับพร้อม, การอบ, การอบกลิ่นหอม, เครื่องอบ, ผ้า, ที่อยู่, บ้าน, เรือน.อธิปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, วาสฺอุปเสวายํวา, โณ.อธิวาส.
เคห : (ปุ. นปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่, เหย้า (เรือน), ทับ (กระท่อม, บ้าน). อภิฯ วิ. คณฺหาติ ปุริเสนานีตธน มิติ เคหํ. กัจฯ ๖๒๙ วิ. ทพฺพสมฺภารํ คณฺหียติ คณฺหาตีติ วา เคหํ. รูปฯ ๕๕๓ วิ. คยฺหตีติ เคหํ. คหฺ คหเณ, อ, อสฺเส. ส. เคห คฤห.
สทุม : ป. บ้าน
สรณิ : (อิต.) ถนน, บ้าน. ส. สรณิ.
สวสถ : ป. บ้าน
อนฺตรอนฺตรา : (อัพ. นิบาต.) ระหว่าง, ในระ-หว่าง, ละแวก.
อนฺตร อนฺตรา : (อัพ. นิบาต.) ระหว่าง, ในระ- หว่าง, ละแวก.
อวตาร : (ปุ.) การลง, การหยั่งลง, การข้าม, การข้ามลง, ท่า, ท่าน้ำ, รู, ช่อง, โพรง, ละแวก.อวปุพฺโพ, ตรฺตรเณ, โณ.ส. อวตาร.
กุฑ กุฑก กุฑฺฑ : (นปุ.) ฝา, ฝาบ้าน, ฝาเรือน. กุฏฺ เฉทเน, อ, ฏสฺส โฑ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ฏ เป็น ฑฺฑ.
กุลเคห : นป. เรือนแห่งตระกูล, บ้านประจำตระกูล
คมฺม : (วิ.) เป็นของชาวบ้าน, ของชาวบ้าน, คาม+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ ม เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ รวมเป็น คามฺย แปลง มฺย เป็น มฺม รัสสะ อา เป็น อ.
คหการ คหการก : (ปุ.) นายช่างผู้ทำเรือน, ช่าง ปลูกบ้าน.
คหปติ : ป. คหบดี, พ่อบ้าน, พ่อเรือน, ผู้ชายเป็นเจ้าของบ้าน
คหปติจีวร : (นปุ.) ผ้าอันคฤหบดีถวาย, ผ้าที่ ชาวบ้านถวาย.
คามก : (ปุ.) ประชุมแห่งบ้าน, หมู่บ้าน. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
คามเขตฺตทฺวิปทจตุปฺปทยานวาหน : (นปุ.) บ้านและนาและสัตว์มีเท้าสองและสัตว์ มีเท้าสี่และยานพาหนะเป็น อ. ทวัน. มี ฉ.ตุล. และ ฉ.ตุล. เป็ยภายใน. ศัพท ปท นั้นใช้ ปาท ก็ได้.
คามฆาต : ป. การทำลายบ้าน, การปล้นบ้าน
คามฆาตก : ค. ผู้ทำลายบ้าน, ผู้ปล้นบ้าน
คามชน : ป. ชนในบ้าน, ชาวบ้าน
คามเชฏฐ : ป. หัวหน้าบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน
คามเชฏฺฐก : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่ในหมู้บ้าน, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน, พ่อหลว(ผู้ใหญ่บ้าน)
คามฏฐาน : นป. ที่เคยตั้งบ้าน, บ้านเก่า, บ้านร้าง
คามณิ : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่งชาวบ้าน, คนผู้นำ ชาวบ้าน, หัวหน้า, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน. วิ. คามํ เนตีติ คามณิ. คามปุพฺโพ, นี นเย, อี, นสฺส ณตฺตํ, รสฺเส คามณิ (เป็น คามณิ เพราะรัสสะ อี เป็น อิ). อภิฯ ลง ณี ปัจ. เป็น คามนิ โดยไม่แปลง น บ้าง.
คามณิ, - ณี : ๑. ป. นายบ้าน, หัวหน้าบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน
๒. ค. หัวหน้า, ประเสริฐ, เลิศ, สูงสุด
คามตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวบ้าน.
คามทฺวาร : นป. ประตูใหญ่, ประตูบ้าน, ประตูเข้าบ้าน
คามธมฺม : (ปุ. นปุ.) เรื่องของชาวบ้าน, กิจของ ชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติ อยู่ในบ้าน, ความประพฤติของชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติอยู่ในบ้าน, เมถุน (การร่วมสังวาส). วิ. คามวาสีนํ ธมฺโม อาจาโร คามธมฺโม.
คามนฺต : ป. บ้าน, เขตบ้าน, แดนบ้าน, ที่ใกล้บ้าน
คามปูฏว : (ปุ.) ชาวบ้านผู้มีการทำให้บริสุทธิ์, ชาวบ้านผู้มีการชำระผิว, ชาวบ้านผู้ชอบ แต่งผิว. คาม+ปูฏว.
คามโภชก : (ปุ.) นายบ้าน, พ่อบ้าน, ผู้ใหญ่ บ้าน, นายตำบล, กำนัน, นายอำเภอ.
คามมณฺฑล : นป. ลานบ้าน
คามวาสี : ป. ผู้อยู่ในบ้าน, ชาวบ้าน, ผู้อยู่ใกล้บ้าน (ภิกษุ)
คามสนฺโทห : (ปุ.) หมู่แห่งบ้าน, หมู่บ้าน.
คามสามนฺต : นป. ที่รอบๆ บ้าน, ใกล้บ้าน
คามสีมา : (อิต.) สีมากำหนดด้วยเขตบ้าน, สีมามีเขตบ้านเป็นกำหนด.
คามิก : ป. ผู้อยู่ในบ้าน, ชาวบ้าน
คามิย : (วิ.) อันเป็นของผู้มีอยู่แห่งชาวบ้าน วิ. คามสฺส สนฺตกํ คามิยํ. อิย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๕. หรือลง ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. แปลง ก เป็ฯ ย.
คามูปจาร : ป. อุปจารแห่งบ้าน, ที่ใกล้บ้าน, ชานบ้าน, นอกบ้าน
คาเมยฺย : ค. ซึ่งอยู่ในบ้าน, เกี่ยวกับบ้าน
คิญฺชกาวสถ : ป. บ้านเรือนหรือสถานที่ที่สร้างขึ้นด้วยอิฐหรือมุงด้วยกระเบื้อง
คิห : นป. บ้าน, เรือน, ใช้ในคำว่า อคิห ค. = ผู้ไม่มีเรือน (บรรพชิต)