Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ลัก , then ลก, ลกฺ, ลัก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ลัก, 48 found, display 1-48
  1. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  2. กมณฺฑลุ : (ปุ. นปุ.) กะโหลก, กะโหลกศรีษะ, กะโหลกน้ำเต้า, คนโทน้ำ, หม้อน้ำ, กระ- ออม, ลักจั่น (ภาชนะสำหรับใส่น้ำ). วิ. กมณฺฑํ ลาตีติ กมณฑลุ. กมณฺฑปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อุ. ส. กมณฺฑลุ.
  3. กุมฺภตฺเถนก : ค. ผู้ลักด้วยหม้อ, ผู้ขโมยของโดยใช้หม้อเป็นเครื่องมือ (คือใช้ไฟจุดใต้หม้อ)
  4. เกสาเกสิ : (อิต.) การรบอันจับที่เส้นผมที่เส้นผม เป็นไป วิ. เกเสสุ จ เกเสสุ จ คเหตฺวา อิทํ ยุทธํ ปวตฺตตีติ เกสาเกสิ. อี อิต. รัสสะ เป็น อิ? เป็น พยติหารลักขณพหุ พ. รูปฯ ๓๔๑.
  5. คณฺฑกูป : ป. ลักยิ้ม
  6. คนฺธตฺเถน : ป. ผู้ลักของหอม, ผู้ขโมยของหอม
  7. โจร : (ปุ.) ขโมย (ผู้ลักสิ่งของ), โจร (ผู้ร้าย ลักปล้น). จุรฺ เถยฺเย, โณ. ส. โจร.
  8. โจริย : (วิ.) ลัก, ขโมย.
  9. เถเนติ : ก. ลัก, ขโมย
  10. เถยฺยกรณ : (นปุ.) การลัก, การขโมย.
  11. เถยฺยจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบด้วยความเป็น แห่งขโมย, จิตประกอยด้วยความเป็น ขโมย, จิตเครื่องความเป็นขโมย, เถยยจิต ไถยจิต (จิตคิดจะลัก).
  12. ทูหร : (วิ.) อัน...นำไปได้โดยยาก, อัน...ลักไป ได้โดยยาก, นำไปยาก ลักไปยาก (ยาก ที่จะนำไป ยากที่จะลักไป) . ทุกฺข+หรฺ+ข ปัจ. ศัพท์ที่มี ทุ นิ อยู่หน้า ถ้าไม่ลง รฺ อาคม มักทีฑะเป็น ทู นี.
  13. ปภสน : ค., นป. การขัดสี; การฉกชิง, การลักไป
  14. มุสน : (นปุ.) การลัก, การขโมย. มุสฺ เถยฺเย, ยุ.
  15. โมส : (ปุ.) การลัก, การขโมย, โจรกรรม.
  16. โมสน : นป. การลัก
  17. สุงฺกฆาต : (ปุ.) สุงกฆาตะ ชื่ออวหาร (การลัก) ชนิดหนึ่ง คือการลักนำของผ่านด่านภาษี หรือของมากซ่อนเสียให้เห็นแต่น้อย.
  18. อจฺฉินฺทติ : ก. ลัก, ตัด, ปล้น, แย่ง, ชิง
  19. อจฺเฉทน : นป. การลัก, การแย่งชิง
  20. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  21. อทินฺนาทาน : (นปุ.) การถือเอาซึ่งสิ่งของอันเจ้าของไม่ให้แล้ว, การถือเอาซึ่งสิ่งอันเจ้าของไม่ได้ให้แล้ว, การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แก่ตน, อทินนาทาน (การลักทรัพย์การขโมย).วิ.อทินฺนสฺสอาทานํอทินฺนาทานํ.อถวา, อทินฺนํอาทียนฺติเอเตนาติอทินฺนาทานํ.
  22. อภิลกฺขิตกาล : (ปุ.) กาลอัน...กำหนดแล้ว, เวลาที่กำหนด, อภิลักขิตกาล.
  23. อลกฺกมาลี : ค. ประดับด้วยพวงดอกอลักกะ
  24. อวหฏ : กิต. ถูกนำไปแล้ว, อันเขาลักไปแล้ว
  25. อวหรณ : นป. การนำไป, การลักขโมย, อวหาร
  26. อวหาร : (ปุ.) การนำลง, การฉวยเอา, การชิงเอาการลัก, การขโมย, ความนำลง.อวหรือโอบทหน้าหรฺธาตุในความถือเอาณปัจ.ส.อวหาร.
  27. อวิลุตฺต : ค. ไม่ได้ปล้น, ไม่ได้ลักแล้ว
  28. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  29. โคปาล, - ลก : ป. ดู โคป
  30. ปิปฺผล, - ลก : นป. ตะไกร, ต้นมะเดื่อ
  31. พุพฺพุล, - ลก : นป. ฟองน้ำ, ต่อมน้ำ, โป่งน้ำ
  32. มาล, - ลก : ป. วงกลม, ดอก
  33. ยุคล, - ลก : นป. คู่
  34. อุทฺทาล, - ลก : ป. ต้นราชพฤกษ์
  35. ลกฺขิก : ค. ผู้มีโชค
  36. ลกฺเขติ : ก. หมาย, กำหนด
  37. กุลฺลก : ๑. ป. กระชุ, เครื่องสาน; แพชนิดหนึ่ง; กระด้งเล็กๆ; ๒. ค. ผู้ได้รับเลี้ยงดูอย่างดี
  38. กุลฺลกวิหาร : ป. วิหารธรรมตื้นๆ , ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างง่ายๆ, ความเป็นอยู่อย่างธรรมดา
  39. จตุรงฺคุล, - ลิก : ค. มีประมาณสี่นิ้ว
  40. ลุก อุลูก อุฬุก : (ปุ.) นกเค้า, นกเค้าแมว, นกฮูก, นกแสก, นกพิราบ. อุลฺ คเวสเน, อุโก, อู วา, สกตฺเถ โก. เป็น อุลฺลุก บ้าง. ส. อุลูก.
  41. โลก : ป. โลก, สัตว์, พลเมือง
  42. อภิลกฺเขติ : ก. กะ, กำหนด, หมาย
  43. อมูลอมูลก : (วิ.) มีมูลหามิได้, ไม่มีมูลคือไม่ได้เห็นไม่ได้ยินไม่ได้รังเกียจ, ไม่มีหลักฐาน.
  44. อามณฺฑลิย, - ลิก : นป. การวนเวียน, การปั่นป่วน, การรวนเร
  45. กลก กลงฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, ตำหนิ. ก มตฺตานํ ลํกยติ หีนํ กโรตีติ กลํโก กลงฺโก วา. กปุพฺโพ, ลํกฺ องฺเก, อ. ส. กลงฺก.
  46. อาโลก : (ปุ.) การเห็น, การดู, ความสว่าง, ความรุ่งเรือง, แสง, แสงสว่าง, รัศมี. อาปุพฺโพ, โลกฺ ทสฺสเน, อ. ส.อาโลก.
  47. อุโลก อุลฺโลก : (นปุ.) ที่เป็นที่แลขึ้น, เพดาน. อุปุพฺโพ, โลกฺ ทสฺสเน, อ.
  48. โอโลกน : (นปุ.) การแลดู, ความแลดู (เบื้อง บน), หน้าต่าง. อุปุพฺโพ, โลกฺ ทสฺสเน, ยุ.
  49. [1-48]

(0.0172 sec)