Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ลำดับ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ลำดับ, 65 found, display 1-50
  1. นวกภูมิ : (อิต.) ชั้นต้น, ลำดับ, ฐานะต้น, ฯลฯ, นวกภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคน ชั้นต้น ในพุทธศาสนา หมายถึง นักธรรม ชั้นตรี ธรรมศึกษาชั้นตรี พระชั้นต้น คือ ตั้งแต่อุปสมบทถึงพรรษาครบ ๕ ใน พจนาฯ นับตั้งแต่อุปสมบทถึงครบพรรษา ๔.
  2. นิทาน : อ. โดยอาศัย, เนื่องมาจาก, ต่อจาก, ลำดับ
  3. ปนฺติ : (อิต.) ราวป่า, แถว, แนว, ท่องแถว, สาย, บรรทัด, เส้นบรรทัด, ทาง, หนทาง, ลำดับ, แบบแผน, ระเบียบ, บาลี. ปนฺ วฺย วหาเร ถุติมฺหิ จ, ติ.
  4. อนนฺตร : (วิ.) ไม่มีระหว่าง, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันเรื่อยไป, ไม่มีอะไรคั่นในระหว่าง, ลำดับ, ส.อนนฺตร.
  5. ธมฺมปริยาย : (ปุ.) กระบวนของธรรม, ลำดับ ของธรรม, การเล่าเรียนธรรม, การสอนธรรม, นัยเป็นเครื่องยังคำสอนให้เป็นไปรอบ, การอธิบายตามความหมายของธรรม.
  6. กม : (ปุ.) กระบวน, แบบ, ลำดับ. กมุ อิจฺฉา- กนฺตีสุ, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ความก้าวไป. กมุ ปทวิกฺเขเป.
  7. ฐานนฺตร : (นปุ.) ลำดับแห่งตำแหน่ง, ฐานันดร ( ตำแหน่ง ตำแหน่งยศ ลำดับ แห่งยศ บรรดาศักดิ์, หน้าที่การงาน). ฐาน + อนฺตร.
  8. ฐิติกา : (อิต.) ลำดับ.
  9. ถานนฺตร : (นปุ.) ลำดับแห่งตำแหน่ง, ที่อัน พิเศษ, ถานันดร ( ลำดับชั้นบุคคล ลำดับ แห่งยศ บรรดาศักดิ์ หน้าที่ การงาน).
  10. ภูมิ : (อิต.) แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้น, พื้นดิน, พื้นเพ, ปัญญา, ภาคพื้น, ขอบเขต, แดน, ชั้น, ลำดับ. วิ. ภวนฺติ อสฺสํ ภูตานีติ ภูมิ. ที่เกิด วิ. ภวนฺติ เอตฺถาติ ภูมิ. ภู สตฺตายํ, มิ.
  11. อนุกม อนุกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปตาม, การก้าว ไป, ความก้าวไป, ฯลฯ, สาย, กระบวน, แบบ, ลำดับ. วิ. อนุรูโป กโม อนุกโม อนุกฺกโม วา. ส. อนุกรฺม
  12. อนุปุพฺพี : (อิต.) กระบวน, แบบ, ฉบับ, แบบฉบับ, ลำดับ.
  13. อนุกมอนุกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปตาม, การก้าวไป, ความก้าวไป, ฯลฯ, สาย, กระบวน, แบบ, ลำดับ.วิ.อนุรูโปกโมอนุกโมอนุกฺกโมวา.ส. อนุกรฺม
  14. กึชาติก กึนิทาน กึปภว กึสมุทย : (วิ.) มีอะไร เป็นชาติ, มีอะไรเป็นเหตุ, มีอะไรเป็น แดนเกิดก่อน, มีอะไรเป็นสมุทัย (แปล ตามลำดับศัพท์). วิ. ตัวอย่าง โก ปภโว อสฺสาติ กึปภโว.
  15. ขุทฺทานุขุทฺทก : (นปุ.) วัตรน้อย และวัตรน้อย- โดยลำดับ, วัตรน้อยและวัตรใหญ่ (จูฬวตฺ- ตมหาวตฺต) วัตรปฏิบัติน้อยใหญ่, วัตร ปฏิบัติอันเป็นขนบธรรมเนียมอันดีงาม.
  16. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  17. ฐานนฺตร : นป. ฐานันดร, ลำดับแห่งยศบรรดาศักดิ์
  18. ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
  19. ฐิติกา : อิต. บัญชีเป็นที่ตั้งลำดับ, บัญชีแสดงยอดจำนวน, หญิงผู้มีความมั่นคง
  20. ตกฺกากม : ป. ลำดับแห่งความตรึก
  21. ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
  22. นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
  23. ปฏิปาฏิ : อิต. ลำดับ, ถ่องแถว
  24. ปฏิปาฏิก : ค. ซึ่งเป็นไปตามลำดับ
  25. ปฏิปาฏิยา : อ. โดยลำดับ, ตามลำดับ, โดยสืบเนื่องกัน
  26. ปทานุกฺกม : (วิ.) การก้าวไปตามซึ่งบท, ลำดับแห่งบท, ปทานุกรม ชื่อตำราแปลศัพท์เรียงตามลำดับแห่งบท ( อักษร ).
  27. ปทานุปุพฺพตา : อิต. ความที่บทเรียงต่อกันไปตามลำดับ, การเรียงลำดับคำ
  28. ยถากฺกม : (วิ.) ตามลำดับ, ตามลำดับกัน.
  29. ยถากฺกม : ก. วิ. ตามลำดับ
  30. ยถาลาภ : (นปุ.) ตามได้, ลำดับแห่งลาภ. วิ. โย โย ลาโภ ยถาลาภํ. เย เย วา ลาภา ยถาลาภํ. ลาภสฺส วา ปฏิปาฏิ ยถาลาภํ.
  31. สปทานจารี : ป. ผู้เที่ยวไปตามลำดับ
  32. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  33. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  34. อถ, อโถ : อ. ครั้งนั้น, ลำดับนั้น, ต่อไป, เช่นกัน
  35. อโถ : (อัพ. นิบาต) ลำดับนั้น, ครั้งนั้น, ภายหลังอนึ่ง, อนึ่งโสต, แล.แปลโดยอรรถ ว่าและบ้างรูปฯว่าใช้ในอรรถแห่งคำถามด้วย.
  36. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
  37. อนฺวฑฺฒมาสอนฺวทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือนโดยลำดับ, ทุกกึ่งเดือน, ทุกปักษ์.วิ.อนุปุ-พฺเพนอฑฺฒมาสํอทฺธมาสํวาอนฺวฑฺฒมาสํอนฺวทฺธมาสํวา.ลบปุพฺพแปลงอุที่นุเป็นอ.
  38. อนฺวฑฺฒมาส อนฺวทฺธมาส : (นปุ.) กึ่งแห่งเดือน โดยลำดับ, ทุกกึ่งเดือน, ทุกปักษ์. วิ. อนุปุ- พฺเพน อฑฺฒมาสํ อทฺธมาสํ วา อนฺวฑฺฒมา สํ อนฺวทฺธมาสํ วา. ลบ ปุพฺพ แปลง อุ ที่ นุ เป็น อ.
  39. อนุกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปตามลำดับ, อนุกรม.ส. อนุกฺรม.
  40. อนุกฺกเมน : ก. วิ. ตามลำดับ, โดยลำดับ
  41. อนุจารี : (ปุ.) ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับโดยปกติ, ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับเป็นปกติ, ชนผู้มีปกติเที่ยวไปโดยลำดับ.
  42. อนุเชฏฺ : (นปุ.) ลำดับแห่งผู้ใหญ่. วิ.เชฏฺฐานํ อนุปุพฺโพ. อนุเชฏฺฐํ.
  43. อนุเชฏฺฐ : (นปุ.) ลำดับแห่งผู้ใหญ่.วิ.เชฏฺฐานํอนุปุพฺโพ.อนุเชฏฺฐํ.
  44. อนุทิน : (นปุ.) วันโดยลำดับ, เฉพาะวัน, รายวัน, ประจำวัน, อนุทิน.ส.อนุทิน.
  45. อนุปฏิปาฏิ, - ติ : อิต. ลำดับ, ความสืบต่อ
  46. อนุปฏิปาฏิยา : ก. วิ. ตามลำดับ, โดยความสืบเนื่องกัน
  47. อนุปท : ก. วิ. โดยลำดับบท, ตามรอยเท้า, สะกดรอย
  48. อนุปฺปพนฺธ : ป. การสืบต่อ, การสืบเนื่องกัน, โดยลำดับ
  49. อนุปุพฺพ : (วิ.) อันเป็นไปตามซึ่งกาลในเบื้องหน้า, อันเป็นไปตามซึ่งธรรมในเบื้องหน้า, เป็นกระบวน, เป็นแบบ, เป็นฉบับ, เป็นแบบฉบับ, เป็นลำดับ.
  50. อนุปุพฺพ : ก. วิ. โดยลำดับ, โดยการสืบต่อ
  51. [1-50] | 51-65

(0.0163 sec)