กถญฺจิ : (อัพ. นิบาต) ยาก, ลำบาก, ฝืดเคือง, เสียใจ.
กถิน : ค. ยาก, ลำบาก, รุนแรง
กสิร : (วิ.) ทุกข์, ลำบาก, คับแคบ, ฝืดเคือง, กระเสียร.
กิจฺฉติ : ก. ยาก, ลำบาก, ทุกข์, ขัดสน
กิลมติ : ก. เหน็ดเหนื่อย, เมื่อยล้า, ลำบาก
ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
ทุกฺข : (วิ.) ยาก, ลำบาก, ชั่ว, เดือดร้อน, ไม่ สบาย, ทุกข์. ทุกฺข ตกฺกิริยายํ, อ.
ทุกฺขติ : ก. เป็นทุกข์, ลำบาก
ทุกฺขียติ : ก. เป็นทุกข์; ลำบาก, คับแค้น
นิตมติ : ก. มืดมน, เหนื่อยอ่อน, ลำบาก
ปริภว : ป. ความเย้ยหยัน, ด่าว่า, ดูแคลน, ลำบาก
ปริภวติ : ก. สบประมาท, ดูหมิ่น, ฉิบหาย, ลำบาก
พฺยถน : (วิ.) เป็นทุกข์, ลำบาก, รบกวน, สะดุ้ง, กลัว, ไหว, สั่น, รัว, สั่นรัว.
วฺยาปชฺชติ : ก. ถึงยาก, ลำบาก, รบกวน
หา : (อัพ. นิบาต) โอ้, อ้า, เหนื่อย, ลำบาก, เป็นทุกข์, แห้งใจ. เขทัตถวาจกนิบาต.
อเฆติ : ก. ชั่วช้า, ฉิบหาย, ลำบาก
อากิณฺณ : ค. ระคนกัน, ปนกัน, เกลื่อนกล่น, เรี่ยราด, อาเกียรณ์, ลำบาก
อาตงฺกี : ค. เจ็บป่วย, ลำบาก
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว
กายทุกฺข : นป. ทุกข์ทางกาย, ความลำบากกาย
กิจฺฉ : (วิ.) ลำบาก, ฝืดเคือง, ทุกข์, ยาก, ทุกข์ยาก.
กิลมณ กิลมน : (นปุ.) ความลำบาก, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
กิลมถ : (ปุ.) ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย, ความเจ็บไข้. กิลมฺ หาสกฺขเย, โถ, อโถ วา.
กิลมียติ : ก. (อัน....) ให้ลำบาก, ให้เหน็ดเหนื่อย, ถูกรบกวน, ถูกทรมาน
กิลเมติ : ก. ย่อมให้ลำบาก, ทำให้เหน็ดเหนื่อย
กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
เขท : (ปุ.) ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย, ความเป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โณ.
คติเวกลฺล : (วิ.) ขาดแคลนการไป, ไปลำบาก, เป็นง่อย, เป็นกระจอก, เขยก.
ทร, ทรถ : ป. ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกังวลใจ, ความหวั่นกลัว, ความลำบาก, ความทุกข์
ทุกฺกรกริยา : (อิต.) การกระทำอันบุคคลทำ ได้โดยยาก, การทำกิจที่บุคคลทำได้โดย ยาก, การทำกิจที่ทำได้โดยยาก, การทำ ความเพียรที่ทำได้โดยยาก, ทุกกรกิริยา คือการทรมานร่างกายให้ลำบากโดย ประการต่างๆ.
ทุกฺขลาภ : (ปุ.) การได้ด้วยความลำบาก, การได้โดยยาก, ลาภที่ได้โดยยาก.
ทุกฺขเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเป็น ทุกข์, ความรู้สึกลำบาก, ไทยใช้ทุกขเวทนาในความว่ารู้สึกลำบาก รู้สึกเจ็บปวด.
ทุกฺขาสหนตา : อิต. ความไม่อดทนต่อความทุกข์, ความทนต่อความยากลำบากไม่ได้
ทุกฺขิต : (วิ.) ผู้ลำบาก วิ. ทุกฺขตีติ ทุกฺโข. ทุกฺขฺ ทุกฺเข, อิโต. ผู้มีความลำบากเกิดพร้อมแล้ว, ผู้มีความลำบากทุกประการ. วิ. ทุกขํ สํชาตํ เอตสฺสาติ ทุกฺขิโต. ผู้มีความลำบาก วิ. ทุกฺขํ อสฺส อตฺถีติ ทุกฺขิโต. ผู้เป็นไปแล้วโดย ความลำบาก, ผู้เป็นไปด้วยความยาก. วิ. ทุกเขน อิโตติ ทุกฺขิโต. ทุกฺข+อิตศัพท์.
ทุชฺชีว : (ปุ. นปุ.) ความเป็นอยู่ยาก,ความเป็นอยู่ลำบาก,ชีวิตยากแค้น.
ทุชฺชีวิต : (นปุ.) ความเป็นอยู่ยาก,ความเป็นอยู่ลำบาก,ชีวิตยากแค้น.
ทุราคม : (ปุ.) การถึงได้โดยยาก, การถึง ลำบาก, การอยู่ห่างไกล. ทุกฺข+อาคม ลบ กฺข รฺอาคม.
ทุหิติก : ค. (ทาง) ซึ่งไปได้ยาก, ซึ่งผ่านไปได้ยาก, ซึ่งไปลำบาก
นิกามลาภี : ค. ผู้ได้ตามความใคร่, ผู้ได้โดยง่าย, ผู้ได้มาโดยไม่ลำบาก
ปริกิลนฺต : กิต. ลำบากแล้ว, เหน็ดเหนื่อยแล้ว
ปริกิลมติ : ก. ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย
ปริเกฺลส : ป. ความลำบาก, ความเศร้าหมอง
ปริสฺสย : ป. อันตราย, ความลำบาก
พฺยาเธติ : ก. ให้เบียดเบียน, ทำให้ลำบาก
พาธน : (ปุ.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
พาธ พาธิ : (นปุ.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
พาธา : (อิต.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
วิทุคฺค : นป. ทางลำบาก, เข้าหายาก