อิพฺพาธุ, - ลุ : ป., อิต. แตงกวา
ลุพาติ : ก. ตัดออก, เก็บเกี่ยว
เสลุ : (ปุ.) มะกอก, มะซาง, มะคำไก่. สิ พนฺธเน, ลุ. สลฺ คติยํ, อุ, อสฺเส.
กมณฺฑลุ : (ปุ. นปุ.) กะโหลก, กะโหลกศรีษะ, กะโหลกน้ำเต้า, คนโทน้ำ, หม้อน้ำ, กระ- ออม, ลักจั่น (ภาชนะสำหรับใส่น้ำ). วิ. กมณฺฑํ ลาตีติ กมณฑลุ. กมณฺฑปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อุ. ส. กมณฺฑลุ.
กุลุปก กุลุปิก : (ปุ.) คนผู้คุ้นเคย, กุลุปกะ กุลุปิกะ ใช้เรียกภิกษุผู้ประจำตระกูล.
นิทฺทาลุ นิทฺทาลู นิทฺทาสีล : (วิ.) มีปกตินอน (นอนมาก), เกียจคร้าน. นิทฺทา+อาลุ, อาลู ปัจ. นิทฺทา+สีล. ส. นิทฺราลุ, นิทฺราศีล.
หทยาลุ หทยี : (วิ.) มีใจดี วิ. หทยํ พหุลํ ปสตฺถญฺจ ยสฺส โส หทยาลุ หทยี จ. อาลุ อี ปัจ. อภิฯ.
อุปยติ : ก. ถึง, เข้าถึง, ลุ
กาลุสิย : นป. ของปฏิกูล, สิ่งสกปรก
กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
คุคฺคุล, - คุลุ : ก. ไม้กำคูน, ยางไม้ที่เป็นยา
เจลเกลุ เจลเกฬุ : (ปุ.) นกคุ่ม ?
ฌิชฺชิ ฌิรี ฌิลุกา ฌิลฺลิ ฌิลฺลิกา ฌิลฺลี ฌีริกา ฌีรุกา : (อิต.) จิ้งหรีด. ส. ฌิชฺชี, ฌิลฺลิกา, ฌิลฺลี.
ธชวนฺตุ ธชาลุ : (วิ.) มีธง, มีธงมาก (ศัพท์ ที่ ๒).
นิททาลุ : ค. ผู้มากด้วยการนอน, ผู้เห็นแก่นอน, ผู้นอนขี้เซา
ปิหาลุ : ค. มากไปด้วยความปรารถนา, อยากได้, เห็นแก่ได้
ผาลุสก : (นปุ.) ลิ้นจี่.
เพลุวสลาฏก : นป. มะตูมแก่, มะตูมที่ยังไม่สุก, มะตูมดิบ
มาลุวา : (อิต.) เครือเถาย่านทราย, เครือย่านทราย, เถาย่านทราย, เถาย่างทราย, เถากระพังโหม.
วาลุกาปุญฺช : ป. กองทราย
สทฺธาลุ : ค. มีความเชื่อ
หทยาลุ : ค. มีใจ, ใจดี
อกลุ : (นปุ.?) กำยาน, กฤษณา, สารขาว.
อคฺคลุ : (นปุ.) กฤษณา.
อครุ อคลุ อคฬุ : (นปุ.) ความไม่หนักใจ, ความเบาใจ.
อนภิชฺฌาลุ : ค. ไม่มีความโลภ, ไม่เพ่งเล็ง
อปิห, อปิหาลุ : ค. ไม่ละโมบ, ไม่จะกละ
อภิชฺฌาลุ : (ปุ.) คนโลภมาก, คนมีอภิชฌามาก.
อภิชฺฌาลุอภิชฺฌาลุก : (วิ.) มีอภิชฌามาก, มีอภิชฌาเป็นปกติ.ศัพท์หลังกสกัด.
อภิชฺฌาลุ อภิชฺฌาลุก : (วิ.) มีอภิชฌามาก, มีอภิ ชฌาเป็นปกติ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
อาคลุ : (นปุ.) กฤษณา.
อาลุ : นป. หัวพืชที่กินได้, เง่ามัน; กาต้มน้ำ, หม้อ, หวด
อาลุลิก : (นปุ.) ความขุ่นมัว, กรรมอันขุ่นมัว. อาปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อิ. แปลง ฬ เป็น ล ก สกัด.
อุลฺลุลิต : กิต. ไหวแล้ว, สั่นแล้ว, กระเพื่อมแล้ว
อุลุปิ อุลูปิ อุลุปี อุลูปี : (ปุ.) ปลาโลมา.
กลวิก กลวึก กลวิงฺก กลวีก : (ปุ.) นกกระจอก. วิ. กลหํ รวตีติ กลวึโก. กลหปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อิโก. ลบ ลห แปลง อุ เป็น อว รฺ เป็น ลฺ นิคคหิตอาคม. กํ สุขํ ลุนาตีติ วา กลวึโก. กปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อิโก. ศัพท์ต้นไม่ลงนิคคหิตอาคม ศัพท์หลัง ทีฆะ. ส. กลวิงฺก.
กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
กุลล : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว. วิ. กุกฺกุฏาทีนํ กุลํ ลุนาตีติ. กุลโล. กุลปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, กฺวิ. กุลติ ปกฺเข ปสาเรตีติ วา กุลโล, กุลฺ สนฺธาเน, อโล.
กุลาวก : (นปุ.) รัง, รังนก. วิ. กุจฺฉิตมณฺฑ- วินาสนาทกํ ลุนาตีติ กุลาวกํ. กุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, ณฺวุ.
กุลีร กุฬีร กุลิร กุลิรก : (ปุ.) ปู (ปูต่างๆ) วิ. กํ ปฐวึ ลุนาตีติ กุลีโร. กุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อีโร. กุลติ ปตฺถรตีติ วา กุลีโร. กุลฺ สนฺตานพนฺธุสุ, อีโร.
นงฺคล : (นปุ.) ไถ ชื่อเครื่องมือสำหรับไถดิน วิ. ภูมินงฺคํ กโรนฺโต ลุนาตีติ นงฺคลํ, ภูมินงฺคํ กโรนฺโต ลุนาตีติ นงฺคลํ. ภูมินงฺคปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, ภูมิโลโป.
พหุลา : (อิต.) กระวาน, กระวานใหญ่. วิ. พหโว อตฺเถ ลาตีติ พหุลา. พหุโรเค ลุนาตีติ วา พหุลา, ลุ เฉทเน, อ.
เหลา : (อิต.) ธรรมชาติตัดซึ่งทุกข์, เหลา ชื่อกิริยาท่าทาง. น่าเสน่หาของหญิง. วิ. หึ ทุกฺขํ ลุนาตีติ เหลา. หิปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อิตฺถิยํ อา. หิลฺ หาวกรเณ, อ. เป็น เหฬา บ้าง.
อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
มล : (นปุ.) ธรรมชาตอันตัดเสียซึ่งความเป็นของอันยังใจให้เจริญ, สิ่งอันตัดเสียซึ่งความเจริญของใจ. มน+ลุ ธาตุ อ ปัจ.
จุลฺลุปฏฺฐาก : ป. จุลลุปัฏฐาก, คนรับใช้ประจำตัว, คนรับใช้ใกล้ชิด
เจล เจฬ เจลก : (นปุ.) ผ้า, ท่อนผ้า, แผ่นผ้า. จิลฺ วสเน, เจลุ คมเน วา, โณ ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. เจล, เจลก, ไจล.
ทยาลุ พยาลุก : (วิ.) ผู้มีความเอ็นดูเป็นปกติ วิ. ทยา อสฺส. ปกติ ทยาลุ. ผู้มีความอ็นดู มาก วิ. ทยา อสฺส พหุลา ทยาลุ. ผู้มี ความเอ็นดู วิ. ทยา กรุณา ยสฺสตฺถิ โส ทยาลุ. อาลุ ปัจ. พหุลตัท. ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๕๖๙ ว่า ลง กฺ อาคม. ส.ทยาลุ.