ปฏิกจฺจ : ค. ก่อน, ด่วน, ล่วงหน้า
กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
นิมิตฺตกมฺม : นป. การทำนายล่วงหน้า, ลาง
อติเวล : (วิ.) ล่วงแล้วซึ่งเวลา.วิ.เวลํอติกฺกนฺโตอติเวลโล.กลับบทหน้าไว้หลัง.
อนาคตสญาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
อนาคตสาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่ มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
อุปริ : (อัพ. นิบาต) บน, ข้างบน, เบื้องบน, ด้าน, ด้านเหนือ, ล่วงไป, ในเบื้องบน, ณ เบื้องบน, ในเบื้องหน้า, ณ เบื้องหน้า. สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. เว้น อุ. อุปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ฝนเว้นซึ่งภูเขาย่อมตก. รูปฯ ๒๙๘. ส. อุปริ.
อติจรติ : ก. จาริกไป, เที่ยวไป, ละเมิด, ล่วง
อภิลงฺฆติ : ก. ขึ้น, ขึ้นไป, ผ่านไป, ข้าม, ล่วง, กระโดดขึ้น
ตุณฺฑ : (นปุ.) ปาก, หน้า, จะงอย ( ปลายหรือ ที่สุดของปากสัตว์ดิรัจฉาน) , จะงอยปาก. ตุทิโตฑเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. ตนุ วิตฺถาเร วา, โฑ, อสฺสุตฺตํ, นสฺส ณตฺตํ เป็น ตุณฺฑิ บ้าง ?
ปุร : (วิ.) สูง, หน้า, ข้าง, เบื้องหน้า, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า. ปุรฺ อคฺคคมเน, อ.
ปุเร : (อัพ. นิบาต) ก่อน, ในก่อน, ในกาลก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
วทน : นป. การกล่าว; หน้า, ปาก
อคฺคโต : (อัพ. นิบาต) ก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
อานน : (นปุ.) ปาก, หน้า (หน้าตา), ช่อง, ประตูป่า.วิ.อนฺนติอสฺสสนฺติอเนนาติอานนํ.อนฺปาณเน, ยุ.อสฺภกฺขเณวา, ทีโฆ.แปลงสเป็นน.ส.อานน.
วีติกฺกมติ : ก. ล่วง
กิญฺจลุก : (ปุ.) ไส้เดือน วิ. กิญฺจิจลตีติ กิญฺจลุ โก. กิญฺจิปุพฺโพ, จลฺ กมฺปเน, อุโก, จิโล โป. อภิฯ หน้า ๗๐๙.
ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
ปริกิตฺตีต : กิต. ประกาศแล้ว, ชี้แจงแล้ว, สรรเสริญแล้ว
ก. ประกาศ, ชี้แจง, สรรเสริญ (หน้า 337)
โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
พฺยมฺห : (นปุ.) เทววิมาน, เมืองสวรรค์, ฟ้า. วิ. วิเห อากาเส คจฉฺตีติ วฺยมฺหํ วา. อมปัจ. แปลง อิ เป็น ย แปร ม ไว้ หน้า ห.
ภทฺร : (วิ.) งาม, ฯลฯ. ภทฺท แปลง ท เป็น ทฺร ลบ ทฺ สังโยค อภิฯ หน้า ๒๘๔.
อวงฺค : (นปุ.) หน้า.
อาโลกสนฺธิ : (อิต.) ช่องลม, หน้าต่าง. วิ. อาโลกานํ อาตปานํ ปวิสนฏฺฐานํ สนฺธิ ฉิทฺทนฺติ อาโลกสนฺธิ. (หน้า ๑๐๒)
อุณฺหิต : (นปุ.) มงกุฏ, หมวก, เครื่องประดับ หน้า. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, โต, อิอาคโม.
ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
พาฬฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฬฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ฬตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโฬ. แปร ฬ ไว้หน้า ห ทีฆะ.
อติสยติ : ก. ล่วง, ล้ำ, วิเศษ
กกฺกุ : นป. แป้งผัดหน้า
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
กตปุพฺพ : (วิ.) อัน...ทำแล้วในกาลก่อน วิ. ปุพฺเพ กตํ กตปุพฺพํ. กลับบทหน้าไว้หลัง อัน...เคยทำแล้ว.
กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
กปฺปาตีต : ค. ผู้ล่วงกัป (พระอรหันต์)
กมฺมโยนิ : (วิ.) มีกรรมเป็นกำเนิด ว. โยนิกํ กมฺมํ ยสฺส โส กมฺมโยนิ. ลบ ก สกัด แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง.
กยวิกฺกยี : ป. พ่อค้า, นายหน้า
กรุณาปร : ค. ผู้มีความกรุณาสูง, ผู้มีความกรุณาเป็นเบื้องหน้า
กเลวร กเลวฬ กเลพร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ซากศพ, ซากผี, ขั้น วิ. กเล วรตีติ กเลวรํ. กลปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, อ. ไม่ลบ วิภัตติ บทหน้า. ส. กลเวร.
กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
กาปุริส : (ปุ.) บุรุษอันบัณฑิตพึงเกลียด, บุรุษชั่ว, คนชั่ว, คนชั่วร้าย, คนเลว. วิ. กุจฺฉิตพฺโพ จ โส ปุริโส จาติ กาปุริโส, ลบอักษรศัพท์หน้า เหลือแต่ กุ แปลง กุ เป็น กา.
การณิก : (วิ.) ผู้รู้เหตุผลได้ทันที, ผู้พิจารณา เหตุผลได้รวดเร็ว. วิ. การณผลํ ชานาตีติ การณิโก. อิก ปัจ. ลบ ผล. ในอภิฯ บท หน้าเป็น การณํ เป็น ปุพเพกเสสสมาส.
กิตก : (ปุ.) ศัพท์อันเรี่ยรายด้วยกิตปัจจัย, กิตก์ ชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย ปัจจัยหมู่หนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของนาม ศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ต่าง ๆ กัน. จากบาลี ไวยากรณ์กิตก์. วิ. กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก. กิบทหน้า กิรฺธาตุ ในความเรี่ยราย รปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง อิ ที่ กิ ตัว ธาตุเป็น อ และลบตัวเอง (รปัจ.).
กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
กุนตฺถุ : (อิต.) ดั้งจมูก. นตฺถุ+กุฏิ หรือ กุฏิ ลบ ฏิ หรือ ฏิก แล้วกลับบทหน้าไว้ หลัง.
กุรุวินฺทก : ป. จุดสำหรับอาบ, แป้งผัดหน้าทาตัวหลังจากอาบน้ำแล้ว