จิลฺลาภ : ป. คนล้วงกระเป๋า
ปุฏ, ปุฏก : ป., นป. กระจาด, ตะกร้า, กระเช้า, กระเป๋า, ถุง, ห่อ
จมฺมมญฺชุสา : (อิต.) กระเป๋าหนัง.
ปสิพฺพก : ป. กระสอบ, กะทอ, ถุง, ย่าม, กระเป๋าถือ
กูฏ : (วิ.) เลว, โกง, ปลอม, เก๊, เท็จ, หลอก ลวง. กูฏ เฉทเน วา, อ. ทีโฆ.
กลายติ : ก. ประพฤติโกง, หลอกลวง
กุหก : (ปุ.) คนผู้ยังคนให้พิศวง, คนที่ทำคนให้ พิศวง, คนผู้ยังโลกให่พิศวง, คนหลอกลวง, คนโกหก. ก สกัด. โกหกไทยใช้เป็นกิริยาว่า พูดปด พูดเท็จ. สฺ. กุหก.
กุห กุหณ กุหน : (วิ.) หลอก, หลอกลวง, โกง. กุหฺ วิมฺหาปเน, อ, ยุ.
กุหณา, - นา : อิต. การหลอกลวง, การโกง, การฉ้อฉล; สิ่งที่เป็นอันตราย
กุหนาวตฺถุ : นป. กุหนาวัตถุ, วัตถุเป็นที่ตั้งแห่งความหลอกลวง, เรื่องที่จัดว่าเป็นการหลอกลวง
กุห, - หก : ค., ป. ผู้โกหก, ผู้หลอกลวง
กุเหติ : ก. หลอกลวง, โกง
กูเฏยฺย : นป. ความโกง, ความหลอกลวง
เกฏภี : ค. ผู้คดโกง, ผู้หลอกลวง
เกราฏิก : ค., ป. ผู้คดโกง, ผู้หลอกลวง; คนโกง, คนหลอกลวง, คนตระหนี่
เกราฏิย : นป. ความคดโกง, ความหลอกลวง
คิลานาลย : ป. การลวงว่าป่วยไข้
ฉินฺนิกา : อิต. ผู้หลอกลวง, ผู้ฉ้อฉล, คนขี้โกง
ชิมฺเหยฺย : นป. ความคด, ความหลอกลวง, ความฉ้อโกง
นิกฺกุห : ค. ซึ่งไม่หลอกลวง, ซึ่งไม่โกหก
นิกจฺจ : นป. ปลอม, ฉ้อโกง, หลอกลวง
นิกโรติ : ก. ปราบพยศ, ฆ่าน้ำใจ, หลอกลวง, โกง
นิทฺธุนิย : นป. การหลอกลวง, มายา, เล่ห์กล
นิลฺลป : ค. ซึ่งไม่หลอกลวง, ปราศจากการสบประมาท
เนกติก : ป., ค. โกง, หลอกลวง
ปฏิจฺฉาทก : ค. ซึ่งปิดบัง, ซึ่งปกปิด, ซึ่งซ่อนเร้น, ซึ่งอำพราง, ซึ่งลวง
ปฏิสาเฐยฺย, - เถยฺย : นป. การหลอกลวงตอบ, การใช้เล่ห์กลตอบแทน
ปโมหน : นป. การหลอกลวง, ความหลงผิด
ปโมเหติ : ก. หลอกลวง, ให้ลุ่มหลง, ล่อให้หลง
ปาฏิรูปิก : ค. ซึ่งปลอมแปลง, ซึ่งเทียม, ซึ่งไม่แท้, ซึ่งหลอกลวง
โมเหติ : ก. หลอกลวง, ให้หลง, ทำให้ผิดทาง, ตบตา
วิสวาท : ป. การหลอกลวง, การพูดปด
วิสวาเทติ : ก. หลอกลวง, พูดปด
วีติกฺกมติ : ก. ล่วง
สมฺพรี : (อิต.) การลวง, การล่อลวง, การเล่นกล, ความลวง, ความล่อลวง. วิ. มายา เอว สมฺพโร ตสฺสายนฺติ สมฺพรี. ณี ปัจ.
อติจรติ : ก. จาริกไป, เที่ยวไป, ละเมิด, ล่วง
อติสยติ : ก. ล่วง, ล้ำ, วิเศษ
อปฺปสาทน : (วิ.) ไม่ทำให้เลื่อมใส, เลว, โกง, หลอกลวง.
อภิลงฺฆติ : ก. ขึ้น, ขึ้นไป, ผ่านไป, ข้าม, ล่วง, กระโดดขึ้น
อภูต : ๑. นป. ความเป็นของไม่จริง, ความโกหกหลอกลวง;
๒. ค. ไม่เป็น, ไม่มี, ไม่จริง
อมายา : ค. ไม่มีมายา, ไม่หลอกลวง
อมายาวี : ค. ผู้ไม่มีมายา, ผู้ไม่หลอกลวง
อวิสวาท : ป. การไม่พูดลวงโลก, การไม่พูดโกหก
อวิสวาทก : ค. ผู้ไม่พูดหลอกลวง, ผู้ไม่พูดคลาดเคลื่อนจากความจริง
อวิสวาทนตา : อิต. ความไม่พูดหลอกลวง, ความซื่อสัตย์
อวิสวาเทติ : ก. ให้พูดคำไม่หลอกลวง, ให้พูดแต่วาจาสัตย์
อาลย : (วิ.) พัวพัน, ห่วงใย, ลวงอุ.ปพฺพชิตาลยลวงว่าเป็นบรรพชิต.ส. อาลย.