คทฺทุ (ทู) ล : ป. สายหนัง, บ่วงหนัง; เครื่องผูกสุนัข
เผณิก, - ล : ค. ไม้มะคำดีควาย, สะเดา
ภินฺทิวาล ภินฺทิวาฬ : (ปุ.) ภินทิวาล ภินทิวาฬ ชื่อหอกชนิดหนึ่ง วิ. ภินฺทนสีลตาย ภินฺที, วาติ คจฺฉติ อเนนาติ วาโล. วา คติยํ, อโล. ภินฺที จ โส วาโล เจติ ภินฺทิวาโล ภินฺทิวาโฬ วา รัสสะ อี เป็น อิ ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
ลกุณฺฏก : ป. คนเตี้ย
ลคุฬ : ป. ไม้ค้อน
ลปติ : ก. พูด, เจราจา
ลวิตฺต : นป. เคียว
ลสติ : ก. ส่องแสง; เล่น
ลสุณ : นป. กระเทียม
จุล จุลฺล จุฬ : (วิ.) น้อย, เล็ก, ละเอียด, ป่น. จุฬฺ เปรเณ, อ. ศัพท์แรก แปลง ฬ เป็น ล ศัพท์ที่สอง แปลง ล เป็น ลฺล หรือ จิ จเย, อุโล, อิสฺสุ.
กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
โกฏิล โกฏิลฺล โกฏิลฺย : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, บิดเป็นเกลียว. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิโล. ศัพท์ที่ ๒ แปลง ล เป็น ลฺล ศัพท์ที่ ๓ แปลง ล ตัวหลังเป็น ย.
เทวล เทวิย : (วิ.) ผู้อันเทวดาให้แล้ว วิ. เทเวน ทตฺโต เทวโล เทวิโย วา. ล. อิยปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๘
จกฺกวาล จกฺกวาฬ : (ปุ.) ปริมณฑล, จักรวาล, จักรวาฬ. ปัจจุบัน ไทยใช้แต่คำจักรวาล น่าจะคงคำจักรวาฬไว้ด้วย.
อนฺตราล, อนฺตราฬ : นป. ภายในระหว่าง, ระหว่างการหยุดพัก
อวิรล, อวิรฬ : ค. ไม่บาง, ไม่ห่าง, ไม่มีช่อง
ทนฺตาวล : (ปุ.) ช้าง. ทนฺต อา บทหน้า วลฺ ธาตุในความเลี้ยง อ ปัจ. ส. ทนฺตาวล.
นาคลตา : (อิต.) พลู วิ. นาคโลเก ชาตา ลตา นาคลตา. แตงหนู มะกอก ก็แปล. ส. นาคลตา ว่าต้นหมาก.
อาลกาอาลกมนฺทา : (อิต.) อาลกมันทาชื่อเมืองกุเวร.วิ.อลํวิภูสนํกโรตีติอลกา.อลกาเอวอาลกา. อาลกาเอว โมทกรณโตอาลกมนฺทาเป็นอาลกมณฺฑาก็มี.
อาลสิย : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนเกียจคร้าน, ฯลฯ. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสิยํ. ณฺย ปัจ. ความเกียจคร้าน. ณฺย ปัจ. สกัด เมื่อลบ อ ที่สุดศัพท์ แล้ว ลง อิ อาคม รูปฯ ๓๗๑ หรือ ลง ณิย ปัจ. ตามสัททนีติ.
กทลิ, - ลี : อิต. ต้นกล้วย, ธง; ละมั่ง
กิเลสาทิมลวิรหิต : (วิ.) ผู้เว้นแล้วจากมลทิน มีกิเลสเป็นต้น.
กุฏิล : ค., นป. โค้ง, งอ, โกง, คดโกง; ส่วนที่โค้ง, ที่คด, ที่งอ
กุฏิลตา : อิต. ความคด, ความโกง
กุฏิลภาว : ป. ความเป็นคนโกง, ความเป็นผู้มีนิสัยโกง
กุลล : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว. วิ. กุกฺกุฏาทีนํ กุลํ ลุนาตีติ. กุลโล. กุลปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, กฺวิ. กุลติ ปกฺเข ปสาเรตีติ วา กุลโล, กุลฺ สนฺธาเน, อโล.
กุลฺล : (ปุ.) แพ วิ. เก อุทเก อุลตีติ กุลฺโล. กปุพฺโพ, อุลฺ คมเน, อ, ทฺวิตฺตํ. อสฺสตฺตํ.
โกฏิล : ค. ผู้คดโกง
โคกีล : ป. ไถ, สาก
จกฺกลิ, - ลี : อิต. ผ้า, แผ่นผ้า, แผ่นผ้าที่ทำให้มีรูปเหมือนวงล้อเพื่อทำเป็นผ้าเช็ดเท้า
จกฺกวาล, - วาฬ : ป., นป. จักรวาล, สุริยจักรวาล, โลก, ปริมณฑล
จาปลสุณน : ป. กระเทียมชนิดหนึ่งซึ่งไม่มีเยื่อ
จุลปิตุ จุลฺลปิตุ จุฬปิตุ จูฬปิตุ : (ปุ.) บิดาน้อย, อา ( น้องของพ่อ แต่ก่อนเขียนอาว์ ).
จุลฺล : (ปุ.) หงอนนก?, เตา, เตาไฟ, เชิงกราน ชื่อเตาไฟทำด้วยดิน ยกตั้งได้ มีชานสำ- หรับวางฟืน. จิ จเย, อุโล, ทฺวิตฺตํ.
จุลฺลปิตุ : ป. อา
เจลวิตาน : นป. เพดานผ้า, ผ้าใบบังแดด
ตุมฺหมูล : (นปุ.) ที่ใกล้แห่งท่าน, สำนักของ ท่าน, สำนักท่าน.
เตลวณิชฺชา : อิต. การค้าขายน้ำมัน
ถุล ถุลฺล : (วิ.) เต็ม, อ้วน, พี, ใหญ่, ล่ำ, หยาบ, หนา, หนัก. ถุลฺ ปริพฺรูหเน, อ, โล.
ถุลฺล : ค. อ้วน, ใหญ่, หยาบ, ชั่วหยาบ
ถุลฺลกุมาริกา : (อิต.) สาวเทื้อ, สาวแก่, สาวทึนทึก. สาวทิมทึก, หญิงทึมทึก (หญิงที่ มีอายุมากยังไม่แต่งงาน).
ถุลฺลกุมารี : อิต. เด็กสาวอ้วน, สาวเทื้อ, สาวทึมทึก
ถุลฺลผุสิตก : ค. ซึ่งมีหยดใหญ่, (ฝน) มีเม็ดโต
ถุลฺลสรีร : ค. ผู้มีร่างกายใหญ่โต, ผู้มีกายอ้วน
เถนิล : (ปุ.) ไม้ประคำดีควาย.
ปจฺจูสกาล : ป. รุ่งสว่าง, เช้ามืด
ปลาล : นป. ฟาง
ปลาลปุญฺช : ป. กองฟาง