ตวการณ : (นปุ.) เหตุแห่งท่าน.
วก : ป. หมาป่า, หมาใน
อนฺวกาสิ : ก. ลาก, ดึง, ฉุด
นิปฺผาว : (ปุ.) ใบไม้วิเศษอันลมให้สำเร็จ, ใบ ไม้วิเศษมีลมให้สำเร็จ. วกาโร วาเต โหติ.
เจลาปก, - วก : ป. นกกระจอก
ปุลว, - วก : ป. หนอน, ไส้เดือน
อาฬวก : (ปุ.) อาฬวกะ ชื่อยักษ์, อาฬวกยักษ์.
พกาภิธาน : ค. อันมีชื่อว่า พกาพรหม
พการ : ป. ตัวอักษร พ
ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
สพฺพกามทท : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งความใคร่ทั้งปวง, ผู้ให้ซึ่งสิ่งที่ใคร่ทั้งปวง. วิ. สพฺพกามํ ทโท สพฺพกามทโท.
กพฺพการ, กพฺพการก : ป. นักกาพย์, นักกลอน, กวี
กุลาวก : (นปุ.) รัง, รังนก. วิ. กุจฺฉิตมณฺฑ- วินาสนาทกํ ลุนาตีติ กุลาวกํ. กุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, ณฺวุ.
คุฬปูวก : ป. ขนมหวาน
ฆาวก : (ปุ.) คนผู้ประกาศ, คนผู้ป่าวร้อง, คน ผู้โฆษณา. ฆุ สทฺเท, ณฺวุ.
ชีวก : ๑. ป. เทียนขาว, กะเม็ง ;
๒. ค. ผู้เป็นอยู่
ชีวชีวก : (ปุ.) นกพริก.
ตาวก : (วิ.) มีประมาณเพียงนั้น, ฯลฯ. ตาว+ ก ปัจ. สังชยาตัท.
ทิพฺพกาม : ป. สิ่งที่น่าปรารถนาอันเป็นทิพย์, ความสุขอย่างสวรรค์
ธาวก : (ปุ.) คนผู้วิ่งไป, ฯลฯ, การวิ่งไป. ธาวุ คติยํ, การชำระ การล้าง, ธุ โสธเน, โณ, สกตฺเถ โก.
นาคมาณวก : ป. นาคมาณพ, ชายหนุ่มนาค, นาคหนุ่ม
ปตฺตชีวก : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งการเลี้ยงชีพ วิ. ชีวิกํ ปตฺโต ปตฺตชีวโก. กลับบทหน้าไว้หลัง รูปฯ ๓๓๖.
ปตฺตวก : (ปุ.) ขี้เหล็ก, บอระเพ็ด.
ปุฬูว ปุฬูวก : (ปุ.) หนอน, แมลง (แมลงต่างๆ). ปุฬฺ สํฆาเต (หึสายํ), อโว, อสฺส อู (แปลง อ เป็น อู). ศัพท์หลัง ก สกัด.
พนฺธชีว พนฺธชีวก : (ปุ.) ชบา. พนฺธุ เอว ชีวโก พนฺธุชีวโก.
มาณวก : (ปุ.) ชาย, ฯลฯ. ก สกัด. มาณว แปลว่า โจรก็มี ?
ยถาวก : ค. ซึ่งเป็นจริง, ซึ่งเป็นประโยชน์
ยาวก : (ปุ.) ครั่ง. ยุ มิสฺสเน, ณฺวุ.
สราวก : (ปุ.) ขัน, ขันน้ำ.
สุว สุวก : (ปุ.) นกแก้ว, นกแขกเต้า. วิ. มนุสฺสสทฺทมฺปิ สุณาตีติ สุโว สุวโก วา. สุ สวเน, อ, อุวาเทโส. ศัพท์ หลัง ก สกัด.
หาวกรณ : (วิ.) ย่างเยื้อง, เยื้องกราย, กรายกร, ฟ้อนรำ.
อติวก : (ปุ.) ไฟ.อติปุพฺโพ, อกฺ ทิตฺติยํ, อ.
อมฺพกา : อิต. แม่, ภรรยาที่ดี, ผู้หญิง
อาจมนสราวก : (ปุ.) กระบอกชำระ.
อาชีวก, - วิก : ป. อาชีวก, นักบวชนอกพระพุทธศาสนานิกายหนึ่ง
อาฬวก, - วิก : ค. ผู้อยู่ป่าช้า, ชื่อยักษ์
อิติภวาภวกถา : (อิต.) เรื่องความเจริญและ ความเสื่อมด้วยประการนั้น ๆ
อุทกสราวก : (ปุ.) ขันสำหรับตักน้ำ, ขันตักน้ำ, ขันน้ำ.
เสวก : (ปุ.) ข้าเฝ้า, อำมาตย์, เสวก(เส+วก ข้าราชการในราชสำนัก). เสวฺเสวเน, ณฺวุ.
กทมฺพก : (นปุ.) หมวด, ฯลฯ. วิ. กทํ อวยวํ อาททาตีติ กทมฺพกํ. กทปุพฺโพ. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ.
โกมารภจฺจ : ๑. นป. วิชาสำหรับรักษาโรคเด็ก, กุมารเวชวิทยา;
๒. ค. ผู้ที่เจ้าชายชุบเลี้ยง (หมายถึงหมอชีวกโกมารภัจ)
ชนฺตุ : (ปุ.) สัตว์, สัตว์เกิด. วิ. ชายตีติ ชนฺตุ. ชนียเต กมฺมกิเลเสหีติ วา ชนฺตุ. ชายติ วา กมฺมกิเลเสหีติ ชนฺตุ. อรรถกถากุลาวก ชาดก ว่า ชนฺตูติ สตฺโต แปลว่า บุคคล คนดังคำในมหาฎีกามหาสุตตโสมชาดก ว่า ชนฺตูติ ปุคฺคโล.
ตุลา : (อิต.) ขื่อ, เสาขื่อ, ไม้ขื่อ, รอด, เสาดั้ง. วิ. ตุลยติ สํฆาเฏสุ ปติฏฐาตีติ ตุลา. ตุลฺ ปติฏฐายํ, อ, อสฺสุตฺตํ. ปกฺขานํ สมตาหิต ภาวกรณโต ตุลยติ เอตายาติ วา ตุลา. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ, อิตฺถิยํ อา.
เถรก : ค. (ผ้า) มีเนื้อหยาบ (บางแห่งเป็นเถวก, โจรก, หรือ โธรก )
ปฏิจรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยว, เกี่ยวข้อง; กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, พูดวกวน, พูดกลับไปกลับมา, ทำ (ปัญหา) ให้คลุมเครือ