วตฺต : นป. วัตร, หน้าที่, การปฏิบัติ
ทกฺขิณาวฏฺฏ, วตฺต, - วตฺตก : ค. ซึ่งเวียนขวา, ซึ่งวนไปทางขวา
ทานวฏฺฏ, - วตฺต : นป. การอวยทาน, การบำเพ็ญทาน, การบริจาคเป็นประจำ
วตฺตภู : ป. พระอินทร์
กปฺปปริวตฺต : นป. การหมุนเวียนแห่งกัป, ความเจริญแห่งกัป, ความสิ้นสุดแห่งโลก
นาควตฺต : นป. นาควัตร, วัตรนาค, ข้อประพฤติประจำของนาค
ปฏิวตฺต : นป. การหมุนกลับ, การกลิ้งกลับ, การวกออก
ปริวตฺต : ๑. นป. การหมุนเวียน, การเปลี่ยนแปลง ;
๒. ค. หมุนเวียน, เปลี่ยนแปลง
มูควตฺต : (นปุ.) ความประพฤติใบ้, ความประพฤติเป็นคนใบ้, มูควัตร ชื่อวัตรของเดียรถีอย่างหนึ่ง คือ ประพฤติเป็นคนใบ้ไม่พูดจากัน.
สมฺปริวตฺตสายี : (วิ.) ผู้นอนกลิ้งเกลือก.
อติวตฺต : ค. เป็นไปล่วง, ครอบงำ
อนุวตฺต อนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร. ส.อนุวรฺตน.
อาจริยวตฺต : (นปุ.) วัตรอันศิษย์ (อันเตวาสิก)พึงทำแก่อาจารย์, กิจอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์, กิจที่ควรประพฤติปฏิบัติแก่อาจารย์, วัตรเพื่ออาจารย์, กิจเพื่ออาจารย์.
นิวตฺตน : (นปุ.) การหลับ, การหันกลับ, การหมุนกลับ. นิปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ส. นิวรฺตฺตน.
อุพฺพฏฺฏน อุพฺพตฺตน : (นปุ.) การขัดสี. อุปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ศัพท์ต้น แปลง ตฺต เป็น ฏฺฏ.
นิพตฺตน นิพฺพตฺตน : (นปุ.) การเกิด, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ, ปสฺส โพ, ทสฺส โต, ทฺวิตฺตํ. วตฺต วตฺตเน วา.
พทร : (วิ.) ทำลายซึ่งความกระวนกระวายอันเป็นไปทั่วแล้ว, อันทำลายซึ่งความเร่าร้อนอันเป็นไปทั่วแล้ว. ปวตฺตปุพฺโพ, ทร วิทารเณ, อ, ลบ วตฺต แปลง ป เป็น พ.
กายิก : (วิ.) อัน...ทำแล้วด้วยกาย วิ. กาเยน กตํ กายิกํ. อันเป็นไปทางกาย วิ. กาเยน ปวตฺตํ กายิกํ. อันเป็นไปในกาย วิ. กาเย วตฺตตีติ กายิกํ. ณิก ปัจ.
สปญฺญ สปฺปญฺญ : (วิ.) ผู้เป็นไปด้วยปัญญา วิ. สห ปญฺญย วตฺตตีติ สปญฺโญ. ผู้มีปัญญา ผู้มีปรีชา. ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน ปฺ.
สปฺปญฺญ : (ปุ.) คนมีปัญญา วิ. สุนฺทรา ปฺญฺญาย วตฺตตีติ วา สปฺปญฺโฺญ.
สปริวาร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยบริวาร, มีบริวาร, มีผู้แวดล้อม, มีผู้ห้อมล้อม. วิ.สห ปริวาเรหิ วตฺตตีติ สปริวาโร.
สภาค : (วิ.) เป็นไปกับด้วยส่วน. วิ. สห ภาเคน วตฺตตีติ สภาโค. ร่วมกัน, เท่ากัน, เข้ากันได้, อยู่พวกเดียวกัน, เหมือนกัน, มีส่วนเสมอ, มีส่วนเสมอกัน. วิ. สมาโน ภาโค เยสํ เต สภาคา.
สวก สวงฺก : (ปุ.) กุ้ง วิ. สห วํเกน วงฺเกน วา โย วตฺตเตโส สวํโก สวงฺโก วา. สํวชฺชมาโน วา วํโก วงฺโก วา ยสฺส โส สวํโก สวงฺโก วา.
สวฺหย : (วิ.) เป็นไปด้วยชื่อ (ไม่ใช่คนหลักลอย ไม่ใช่คนเถื่อน). วิ. สห อวฺหเยน วตฺตตีติ สวฺหโย.
สเหตุ : (วิ.) เป็นไปกับด้วยเหตุ. วิ. สห เหตุนา โย วตฺตตีติ สเหตุ. แปลง สห เป็น ส ลง ก สกัด เป็นสเหตุก และใช้ศัพท์นี้โดยมาก.
สาตฺถิก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยประโยชน์ วิ. สห อตฺเถน วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. เป็นไปกับด้วยวาจามีประโยชน์ วิ. อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิกา(วาจา). อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. สห อตฺถิ กาย ยา วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). สหบุพ. พหุพ.
สาธารณ : (วิ.) สามัญ, ทั่วไป. วิ. สมํ อาธาริยนฺติ ตสฺมินฺติ สาธารณํ. สมสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ธารฺ ธารเณ, ยุ. สห ธารเณน วตฺตตีติ วา สาธารณํ (เป็นไปกับด้วยการทรงไว้). สาธารณ์ ไทยใช้เป็นเสสน์ในความว่า ต่ำ, เลว ด้วย. ส. สามานฺย.
โสปาน : (ปุ. นปุ.) บันได, พะอง. วิ. สห อุปาเนน วตฺตตีติ โสปาโน. แปลง น เป็น ณ โสปาณ บ้าง. ส. โสปาน.
อนุจฺฉวิก : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งผิววิ.ฉวีอนุวตฺตตีติ อนุจฺฉวิกํ.สมควรแก่ผิววิ.ฉวิยาอนุรูปํอนุจฺฉวิกํ.ลบรูปแล้วกลับบทกสกัด.
อนุวาต : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งลม, ตามลม.วิ.วาตํอนุวตฺตตีติอนุวาตํ.
อุปมา : (อิต.) การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ, อุปมา (เป็นไปใกล้ของความวัด). วิ. ยา อจฺจนฺ- ตาย น มิโนติ น วิจฺฉินฺทติ สา มาณาย สมีเป วตฺตตีติ อุปมา. อุปมียติ สทิสีกรียติ เอตายาติ วา อุปมา. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, กวิ, อ วา. ส. อุปมา.
วตฺตี : ค. ผู้มีวัตร
วตฺตุ : ป. ผู้กล่าว
วิตต : ๑. นป. กลองมีหนังหุ้มทั้งสองด้าน;
๒. กิต. แผ่ไปแล้ว
วิตฺต : นป. ความปลื้มใจ, สมบัติ
วิตฺติ : อิต. ความยินดี, ความสบาย
วุตฺต : กิต. กล่าวแล้ว; หว่านแล้ว, โกนแล้ว
วุตฺติ : อิต. ความเป็นไป, ความประพฤติ, การเลี้ยงชีพ
เวตฺต : นป. หวาย, กิ่งไม้, แขนงไม้
เกวฏฺฏ เกวตฺต : (ปุ.) คนผู้วนไปในน้ำเพื่ออัน จับซึ่งปลาเป็นต้น, ชาวประมง. วิ. เก อุทเก วฏฺฏนฺติ วตฺตนฺติ วา มจฺฉาทิคฺคหณตฺถํ อุมฺมุชฺชนนิมุชฺชนวเสน ปวตฺตนฺตีติ เกวฏฺฏา เกวตฺตา วา. เก อุทเก มจฺฉาทีนํ คหณตฺถาย วฏฺฏติ วตฺตติ วาติ เกวฏฺโฏ เกวตฺโต วา. กปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตฺตเน, อ. ไม่ลบ วิภัติบทหน้า.
นิพตฺติ นิพฺพตฺติ : (อิต.) แปลเหมือน นิพฺพตฺตน. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วตฺตฺ วตฺตเน วา, อิ.
นิพฺพตฺต : (วิ.) แล้ว (เสร็จสิ้น สุดสิ้น จบ.), เสร็จ, สิ้น, สุดสิ้น, จบ, สำเร็จ. นิปุพฺโพ, วตฺตฺ วตฺตเน, อ, วสฺส โพ, พฺสํโยโค.
อาวฏฺฏ : (วิ.) กลม, วน, วนเวียน (ห้วงน้ำที่ หมุนวน). วิ. อาวฏฺฏนฺติ ชลานิ อเตฺรติ อาวฏฺโฏ. อาปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตุ วา วตฺตเน, อ.
อิติวุตฺตก : (นปุ.) อิติวุตตกะ ชื่อองค์ที่ ๖ ใน ๙ องค์ ของนวังคสัตถุศาสน์. แต่งโดยยกข้อ ธรรมขึ้นแล้ว อธิบายตอนจบมีบทสรุป กำกับไว้ด้วย. วิ. อิติ วุตฺตํ อิติวุตฺตกํ ก สกัด.
อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.