วสฺส : ป., นป. ฝน, ปี, ฤดูฝน
ปุริมวสฺส : (ปุ. นปุ.) พรรษต้น, วันเข้าพรรษาต้น. การอธิษฐานเข้าพรรษา ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ เรียกว่า ปุริมพรรษา บุริมพรรษา. ถ้าหากมีความจำเป็นเข้าไม่ทันมีพระบรมพุทธานุญาตให้อธิษฐานเข้าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ เรียกปัจฉิมพรรษา.
กากวสฺส : ป. เสียงร้องของกา, เสียงร้องดุจเสียงกา
ฆนเมฆวสฺส : (นปุ.) ฝนอันเกิดจากเมฆเป็น ก้อน, ฝนลูกเห็บ.
ปาสาณวสฺส : นป. ฝนหิน, ฝนที่เป็นหิน (ซึ่งอาฬวกยักษ์บันดาลให้ตกลงมาเพื่อทำร้ายพระโคตมพุทธ)
อนุวสฺส : ก.วิ. ทุก ๆปี, ทุก ๆกาลฝน
กทมฺพก : (นปุ.) หมวด, ฯลฯ. วิ. กทํ อวยวํ อาททาตีติ กทมฺพกํ. กทปุพฺโพ. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ.
กปิฏฺฐ กปิตฺถ : (ปุ.) มะขวิด, ต้นมะขวิด. วิ. กวิมฺหิ วานเร ติฏฐตีติ กปิฏโฐ. กวิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ, วสฺส โป, ฏฺสํโยโค. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ ซ้อน ต.
กพฺพร : (ปุ.) ทูบ ชื่อไม้แม่แคร่เกวียนที่ยื่น ออกไปติดกับแอก, หัวเกวียน. วิ. กํปฐวึ วุโนติ ฉาทยตีติ กุพฺพโร. กุปุพฺโพ, วุ สํวรเณ, โร อสฺสตฺตํ, วสฺส โพ (แปลง อุ ที่ วุ เป็น อ แปลง ว เป็น พ), พฺสํโยโค.
กพร : (วิ.) หลายสี, ด่าง, พร้อย, ด่างพร้อย. กวฺ วณฺเณ, อโร, วสฺส โพ.
นิพฺพตฺต : (วิ.) แล้ว (เสร็จสิ้น สุดสิ้น จบ.), เสร็จ, สิ้น, สุดสิ้น, จบ, สำเร็จ. นิปุพฺโพ, วตฺตฺ วตฺตเน, อ, วสฺส โพ, พฺสํโยโค.
พก : (ปุ.) นกยาง, นกยางโทน ชื่อนกยางชนิดหนึ่ง. วิ. วกติ โคจรํ อาททาตีติ พโก. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ. เวสฯ เป็น พกฺอาทาเน.
พปฺป : (ปุ.) น้ำตา วิ. วปติ พหิ หทยคตโสเกนาติ พปฺโป. วปฺ นิกฺขมเน, โป, วสฺส โพ.
พากุจี : (อิต.) กำยาน. วกฺ อาทาเน, อโจ, วสฺส โพ, อสฺส อุ, อิตฺถิยํ อี.
พุนฺท : (ปุ.) ราก. วุ สํวรเณ, โท, นิคฺคหิตาคโม, วสฺส โพ. ปุ่ม, พันธุ์ ขา ก็แปล.
อิรุ : (อิต.) อิรุ ชื่อไตรเพท ๑ ใน ๓ ของ พราหมณ์ วิ. อิจฺจนฺเต เทวา เอตายาติ อิรุ. อิจฺ ถุติยํ, อุ, จสฺส โร. อิวฺ วา ถุติยํ, วสฺส โร.
นิล : (นปุ.) ลม. นิปุพฺโพ, วา คติยํ, อ. วสฺส โล.
เมฆ : (ปุ.) เมฆ ชื่อไอน้ำที่รวมกันเป็นก้อนลอยอยู่ในอากาศ วิ. มิหติ โลกํ วสฺส ธาราหีติ เมโฆ. มิหฺ เสจเน, โฆ. แปลง อิ เป็น เอ ลบ หฺ.
โปกฺขรวสฺส : (นปุ.) ฝนมีอาการราวกะว่าน้ำในใบบัว, ฝนโปกขรพรรษ ชื่อฝนมีสีแดงตกด้วยบุญฤทธิ์ต้องการให้เปียกก็เปียก ถ้าไม่ต้องการให้เปียกก็ไม่เปียก.
พุทฺธวสฺส : (ปุ. นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
พุทฺธสก : (นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
สพฺพจ : (วิ.) อัน...พึงรู้ตามได้โดยง่าย, ผู้อัน...พึงว่าได้โดยง่าย, ผู้อัน...พึงสอนได้โดยง่าย. วิ. สุเขน วจิตพพฺโพติ สุพฺพโจ. สุข ปุพฺโพ, วจฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, โข, วสฺสโพ, พสํโยโค.
อวาปูรณ : (นปุ.) ลูกกุญแจ, ลูกตาล, เครื่องบิด, เครื่องเปิด, เครื่องไข.วิ. อวาปูรติวิวรติทฺวารํ เอเตนาติ อวาปูรณํ.อวปุพฺโพ, ปุรฺสํวรเณ, ยุ.อถวา, วุสํวรเณ, ยุ, วสฺสโป, อุปสคฺคสฺสทีฆตา, อุการสฺสทีฆตา, รฺอาคโม.สัททนีติวางอว อาเป็นบทหน้าเป็นอวาปุรณบ้าง.
อาถพฺพน : (ปุ.) หมอผู้กำจัดโรคร้ายของช้าง.วิ.อาภุโสหตฺถิโนโรคํถุพฺพตีติอาถพฺพโนอาปุพฺโพ, ถุพฺพฺหึสายํ, ยุ, อุสสตฺตํ (แปลงอุเป็นอ). อปิจ, อาภุโส หตฺถิสฺมึเภสชฺชํถเปตีติอาถพฺพโน.อาปุพฺโพ, ถปฺถปเน, ยุ, ปสฺสโว (แปลงป เป็น ว), วสฺสทวิตตํ(แปลงว เป็น วฺวแล้ว แปลงเป็นพฺพ).เวสฯ ๒๔๒.