ปาฏงฺกี : อิต. เก้าอี้, แคร่, วอ
เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งตระกูลแห่งพระญาติแปดสิบสองหน (แสนหกหมื่นตระกูล). เป็น อ. ทิคุ มี ฉ. ตัป., ฉ. ตัป. ผละ อ. ทิคุ เป็น ภายใน.
ยาปฺยยาน : (นปุ.) วอ วิ. ยามเปฺยหิ อธเมหิ ยายเตติ ยาปฺยยานํ.
สิวิกา : (อิต.) วอ, เสลี่ยง, คานหาม. วิ. สุขตฺถิเกหิ เสวียเตติ สิวิกา. สิ เสวายํ, ณฺวุ, วฺ อาคโม. แปลง อ ที่ ว ซึ่งบวกกับ อ ที่แปลงมาจาก ณฺวุ แล้วเป็น อิ อา อิต. สิวํ กโรตีติ วา สิวิกา. อิก ปัจ. ส. ศิวิกา.
อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
อโตณ : (ปุ.) ช่างทอง.ชาวอโตณะ.
อภินว : (วิ.) ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ, ใหม่.นุถุติยํ, อ, นโว.นโว.เอวอภินโว. อภิมโตปสตฺโถวานโวอภินโว.
อสงฺขาริก : (นปุ.) ความไม่ปรุงแต่ง. วิ.อสงฺขโรเยวอสงฺขาริกํ.ณิกปัจ.สกัดรูปฯ ๓๖๐.
ติตฺต ติตฺตก : (วิ.) ชม, พอ, พอใจ, อิ่มใจ, อิ่มหนำ ( สำราญหรืออิ่มเต็มที่). ติปฺ ปีณเน, โต, ปสฺส โต อถวา, ติสฺ ติตฺติยํ โต, สสฺส โต. ศัพท์หลัง ก สกัด.
อล : (อัพ. นิบาต) ไม่, อย่า, อย่าเลย, ไม่ควร, บมิควร, ช่างเถอะ, แท้จริง, พอ, พอละ, ประดับ, อาจ, สามารถ, ควร, สมควร.อลํเมพุทฺโธ.พระพุทธเจ้าควรแก่เรา.อลํที่ใช้เป็นประธานแปลว่าอ.อย่าเลยอ.พอละอ.ช่างเถิดอ.ไม่ควรสัมพันธ์ว่าปฏิเสธลิง-คัตถะ.อลํเตอิธวาเสน.อ.อย่าเลยด้วยการอยู่ในที่นี้แก่ท่าน.
กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
กฏตฺตากมฺม : (นปุ.) กรรมอันตนทำแล้วพอ ประมาณ, กรรมอันตนทำแล้วในอดีตชาติ, กรรมสักว่าทำ.
กวล กวฬ กพล : (ปุ.) คำ คือของที่รวมเข้า หรือตะล่อมเข้า พอใส่ปากได้ครั้งหนึ่ง ๆ, คำข้าว. ส. กวก, กวล.
กากุฏเฏปก : ค. ผู้แพ้วกา, ผู้ไล่กา, เด็กผู้รู้เดียงสาพอจะไล่กาได้
กุจฺฉิปุร : (วิ.) ยังท้องให้เต็ม, เต็มในท้อง (พอเต็มท้อง พออิ่มท้อง).
กุตฺตก : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์ (พอนาง ๑๖ คนฟ้อนรำได้), ที่เป็นที่ฟ้อน. วิ. กโรนฺติ เอตฺถ นจฺจนฺติ กุตฺตกํ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ ก สกัด. อภิฯ ว่า แปลง อ ที่ ก เป็น อุ แปลง รฺ เป็น ตฺ.
กุมารปญฺห, - หา : ป., อิต. กุมารปัญหา, ปัญหาสำหรับเด็ก, ปัญหาที่ผูกขึ้นพอเหมาะกับภูมิปัญญาของเด็ก
ขีรมตฺต : ค. มีน้ำนมพอดื่มอิ่ม
จตุปจฺจยสนฺโตส : (ปุ.) ความยินดีพร้อมใน ปัจจัยสี่, ความยินดีในปัจจัยสี่, ความพอ ใจในปัจจัยสี่ ( ตามมีตามได้ ).
จิรรตฺตาย : (อัพ. นิบาต) ต่อราตรีนาน, เพื่อ ราตรีนาน. อภิฯ.
ตาต : (อาลปนะ) ใช้เป็นคำเรียก แปลว่า พ่อ ( ไม่ใช่พ่อผู้ให้กำเนิดลูก ) เป็นคำสุภาพ ใช้เรียกได้ทั่วไป เอก. เป็น ตาต พหุ เป็น ตาตา.
ตุมฺห : (ปุ. อิต.) เจ้า, ท่าน, สู, เอง, มึง, พระ คุณเจ้า, พระคุณท่าน, มหาบพิตร, มหา- บพิตรพระราชสมภารเจ้า, ฯลฯ. ลูกพูดกับ พ่อแม่ แปลว่า พ่อ, แม่, คุณพ่อ, คุณแม่. ยังมีคำแปลอีกมากใช้ยักย้ายให้เหมาะสม กับฐานะของบุคคล ตุมฺหศัพท์เป็นบุรุษที่ ผู้พูดพูดกับคนใด ใช้สำหรับคนนั้น แจกรูปเหมือนกันทั้งสองลิงค์.
เตกิจฺฉ : ค. อันแก้ไขได้, ซึ่งพอจะรักษาได้, ผู้ควรเยียวยา
ทิฏฺฐ : (ปุ.) ความยินดี, ความพอใจล ความแช่มชื่น. ตุสฺ ตุฎฺฐยํ, โต. แปลง ต เป็น ฎฺฐ ลบ สฺ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ตฺ เป็น ทฺ.
ทุตปฺปย : ค. อันบุคคลให้อิ่มได้ยาก, ซึ่งเลี้ยงไม่รู้จักอิ่ม, ซึ่งไม่รู้จักพอ
นาล : อ. ไม่พอ, ไม่สมควร
ปมาณ : (วิ.) พอเหมาะ, เป็นประมาณ, เป็น หลักฐาน, เป็นที่เชื่อถือได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
ปมาณวนฺตุ : ค. มีประมาณ, มีกำหนด, วัดได้, จำกัด; มี (คุณ) พอประมาณได้หรือวัดได้
ปรตุกมฺยตา : (อิต.) ความที่แห่งคำพูดเป็น คำพูดเพื่อยังคนอื่นให้รัก (พูดสอพอเพื่อให้เขารัก ).
ปหูต : ค. เพียงพอ; มีมาก; ควรแก่การพิจารณา
ปหูตธญฺญ, ปหูตธน : ค. มีข้าวเปลือกเพียงพอ, มีข้าวและน้ำอุดมสมบูรณ์
ปหูตปญฺญ : ค. มีปัญญาเพียงพอ, มีปัญญามาก
ปโหติ : ก. เพียงพอ
ปโหนก : ค. เพียงพอ, พอเพียง
ปาตุ : อ. ข้างหน้า, ปรากฏ, พอมองเห็นได้
ปาหุน : ค. เพียงพอ
ปิตุ : ป. พ่อ
ปุริสทมฺม : (ปุ.) คนผู้อัน...พึงทรมานได้, คนผู้อัน...พึงฝึกได้, คนที่พอฝึกได้, คนที่ควรฝึก.
ปุริสทมฺมสารถี : ค. เป็นสารถีฝึกคนที่พอฝึกได้
พิฬารนิสฺสกฺกน (มตฺต) : ค. (ที่มีประมาณ) พอแมวลอดได้
พุทฺธเวเนยฺย : ค. ผู้อันพระพุทธเจ้าพอจะแนะนำให้ตรัสรู้ได้
โพธนีย, โพธเนยฺย : ค. ควรแก่การตรัสรู้, สามารถตรัสรู้ได้, พอสอนให้รู้ธรรมได้,พอปลุกให้ตื่นได้
มตฺตภาณี : (วิ.) ผู้พูดพอ ประมาณ, ผู้พูดพอดี, ผู้กล่าวแต่พอประมาณ, ฯลฯ.
มตฺตา : อิต. ประมาณ, ย่อมเยา, พอสมควร
มตฺตาสุข : นป. สุขพอประมาณ
มตฺตาสุขปริจาค มตฺตาสุขปริจฺจาค : (ปุ.) การสละรอบซึ่งสุขพอประมาณ, การเสียสละซึ่งสุขมีประ มาณน้อย, การสละซึ่งสุขพอประมาณ.
มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
มิต : ๑. กิต. นับแล้ว;
๒. ค. พอประมาณ, น้อย
มิตภาณี : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งคำพอประมาณ, ผู้มักกล่าวซึ่งคำพอประมาณ, ผู้มักว่าขานซึ่งคำพอประมาณ, ผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลนับแล้วโดยปกติ, ฯลฯ, ผู้พูดพอควร, ผู้พูดพอประมาณ.
ยถานุรูป : (วิ.) พอสมควร, พอเหมาะ, พอเหมาะพอเจาะ, พอเหมาะพอเจาะกัน.