Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: วะ , then พะ, , วะ, วา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : วะ, 1549 found, display 1-50
  1. : อ. เทียว, แล
  2. วา : อ. หรือ; หรือว่า
  3. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  4. ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
  5. อุปทฺทว : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปประทุษ ร้าย, อันตรายเครื่องเข้าไปเบียดเบียน, ความคับแค้น, ความลำบากยากแค้น. ความอัปรีย์, ความจัญไร, จัญไร, อันตราย, อุปัททวะ, อุบาทว์. วิ. อุปคนฺตวา ทุโนตีติ อุปทฺทโว. อุปปุพฺโพ, ทุ ปริตาเป หึสายํ วา, อ. อุปคนฺตฺวา ทวตีติ วา อุปทฺทโว. อุปทวนํ วา อุปทฺทโว. ส. อุปทฺรว.
  6. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  7. มฆวนฺตุ : (ปุ.) มฆวัน มฆวา มฆวาน ท้าวมฆวาน มฆวะ เป็นชื่อของพระอินทร์ทุกคำ วิ. มหิตพฺพตฺตา มฆวา. มหฺ ปูชายํ, วนฺตุ, หสฺส โฆ. เป็น มฆวนฺตุ ลง สิปฐมา วิภัติ เอา นฺตุ กับ สิ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น มฆวา.
  8. คาวุต : (นปุ.) คาวุต ชื่อมาตราวัดระยะ เท่ากับ ๘๐ อุสภะ หรือ ๑๐๐ เส้น. วิ. ควํ คเวหิ วา ยุตํ คาวุตํ. แปลง ย เป็น ว
  9. จกฺขายตน จกฺขฺวายตน : (นปุ.) อายตนะ คือตา วิ. จกฺขุ เอว อายตนํ จกฺขายตนํ จกฺขฺวายตนํ วา. จกฺขุ+อายตน ศัพท์ต้นลบ อุ ศัพท์หลัง แปลง อุ เป็น ว.
  10. ตทาตฺต ตทาตวฺ : (นปุ.) สิ่งอันเกิดแล้วในกาล นั้น วิ. ตสฺมึ เยว กาเล ชาตํ ตทาตฺตํ ตทาตฺวํ วา. ศัพท์หลังแปลง ต เป็น ว.
  11. ทุพฺพา : (อิต.) หญ้าแพรก วิ. อวมงฺคลํ ทุพฺพตีติ ทุพฺพา. ทุพฺพ หึสายํ, อ. ทุนฺนิมิตฺตาทโย วาเรนฺติ เอตายาติ วา ทุพฺพา. ทุนฺนิมิต-ตาทิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, อ. ลบบทหหน้าเหลือ ทุ และ ลบ รฺ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ อา อิต. ส. ทูพ, ทุรฺพพา.
  12. นกฺขตฺต : (นปุ.) ลาว, ดวงดาว, ดาวฤกษ์, ฤกษฺ (ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊ส ทรงกลมสามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว), นักษัตร (ดาวฤกษ์มี ๒๗ กลุ่ม). วิ.ปุนปฺปุนํ อุทยโต น ขียเตติ นกฺขตฺตํ. นปุพฺโพ, ขี ขเย. โต. แปลง อี เป็น อ แปลง ต เป็น ตฺต ซ้อน กฺ. อตฺตโน คมนฏฐานํ น ขรติ น วินาเสตีติ วา นกฺขตฺตํ ขรฺ ขเย, นกฺขตีติ วา นกฺขตฺตํ. นกฺขฺ คติยํ, โต. เอตโต อิโต จาติ วิสมคติยา อคนฺตฺวา อตฺตโน วีถิยา ว คมเนน นกฺขนํ คมนํ ศายตีติ วา นกฺขตฺตํ. ตา เต วา ปาลเน. ส. นกฺษตฺร.
  13. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  14. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  15. มิคพนฺธนี มิควนฺธนี มิคพนฺธีนี : (อิต.) เครื่องดัก, บ่วง. วิ. มิเค พนฺธตีติ มิคพนฺธินี, มิคปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, ยุ, อิตฺถิยํ อี, อินี วา. ศัพท์ที่ ๒ แปลง พ เป็น ว.
  16. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  17. สรพฺย สรวฺย : (นปุ.) ที่หมาย, เป้า. วิ. สโร วยติ อสฺมินฺติ สรพฺยํ สรวฺยํ วา. วยฺ คติยํ, อ, วสฺสาการโลโป (ลบ อ อักษรแห่ง ว).
  18. สิวิกา : (อิต.) วอ, เสลี่ยง, คานหาม. วิ. สุขตฺถิเกหิ เสวียเตติ สิวิกา. สิ เสวายํ, ณฺวุ, วฺ อาคโม. แปลง อ ที่ ว ซึ่งบวกกับ อ ที่แปลงมาจาก ณฺวุ แล้วเป็น อิ อา อิต. สิวํ กโรตีติ วา สิวิกา. อิก ปัจ. ส. ศิวิกา.
  19. สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
  20. โอฏฺฐ : (ปุ.) อูฐ ชื่อสัตว์ ๔ เท้า ซึ่งใช้เป็น พาหนะในทะเลทราย. วสฺ กนฺติยํ, โต, วสฺโสตฺตํ (แปลง ว เป็น โอ). อุสฺ ทาเห วา. ส. อุษฺฏฺร.
  21. กนฺตน : (นปุ.) การตัด, การฆ่า, การแควะ, การควัก, การเชือด. กติ เฉทเน, ยุ.
  22. ทฺวนฺทว : (ปุ.) ทวันทวะ, ทวันทวสมาส.
  23. ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
  24. นตฺถิปูว : (ปุ.) ขนมอันบุคคลพึงกล่าวว่าไม่มี, ขนมไม่มี, นัตถิปูวะ ชื่อขนม.
  25. ปตฺถ : (ปุ.) ปัตถะ ชื่อมาตราตวง ๔ กุฑุวะ หรือ ๔ ปสตะ เป็น ๑ ปัตถะ, แล่ง, กอบคือ ๒ ฟายมือ, ทะนาน.
  26. ภวาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปในภพ, กิเลสเครื่องหมักดอกในภพ, อาสวะเป็นเหตุอยากเป็น, อาสวะ คือ ภพ, ภาสวะ (ความหมกมุ่นอยู่ในภพ).
  27. มหาโรรุว : (ปุ.) มหาโรรุวะ ชื่อนรกขุมใหญ่ ขุมที่ ๕ ใน ๘ ขุม.
  28. อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
  29. โอวทน โอโวทน : (นปุ.) การกล่าวสอน, การสั่งสอน, การสอน,การแนะนำสั่งสอน, คำกล่าวสอน, คำสั่งสอน, คำแนะนำ, คำ แนะนำสั่งสอน, คำตักเตือน. อวปุพฺโพ, วทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ยุ. คำหลัง แปลง อ ที่ ว เป็น โอ.
  30. กรณ : (วิ.) (วตฺถุ) เป็นเครื่องทำ, (อวยว) เป็นเครื่องทำเสียงให้เกิด. วิ. กโรติ เตนา ติ กรณํ. กรียเต เตนาติ วา กรณํ. เป็นที่ทำ วิ. กโรนฺติ เอตฺถาติ กรโณ. กรฺ กรเณ, ยุ.
  31. กุญฺชร : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กุญฺโช หนุ ทนฺโต จ, ตํโยคา กุญฺชโร. ร ปัจ. กํ ปฐ วึ ตทภิฆาเตน ชราเปตีติ วา กุญฺชโร. กุปุพฺโพ, ชรฺ วโยหานิมฺหิ, อ, อลุตฺตสมาโส อถวา, กุญฺเช คิริกูเฏ รมติ, โกญฺจนาทํ นทนฺโต วา จรตีติ วา กุญฺชโร. อภิฯ. รูปฯ ๓๘๕ วิ. กุญฺชา หนุ เอตสฺส สนฺตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. รปัจ. กัจฯ ๓๖๘ วิ. กุญฺชา ยสฺส อตฺถิ ตสฺมึ วา วิชฺชตีติ กุญฺชโร. ร ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ วิ. กุญฺเช รมตีติ กุญฺชโร. กุญฺชปุพฺโพ, รมุ กีฬายํ, กฺวิ. ส. กุญฺชร.
  32. โควินฺท : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นหัวหน้าของโค,พญาโค. วิ. ควํ คุณฺณํ อินฺโท โควินฺโท. โค+อินฺท วฺ อาคม. เจ้าของโค วิ. ควํ อินฺโท อธิกโต ชโน โควินฺโท. ควํ วินฺทตีติ วา โควินฺโท. โคปุพฺโพ, วิทฺ ลาเภ, อ. และยังแปลว่า เจ้าของวัวควาย, หัวหน้าคนเลี้ยงสัตว์, นาย โคบาล, พระกฤษณะ, พระพฤหัสบดี อีกด้วย.
  33. ชตฺตุ : (นปุ.) คอต่อ, คอหอย. ชนฺ ชนเน, ตุ, นสฺส โต. ชรฺ วโยหานิยํ วา. ตุ, รสฺส โต. รูปฯ ๖๖๑.
  34. ฌาน : (นปุ.) ความคิด, ความพินิจ, ความเพ่ง. วิ. ฌายเตติ ฌานํ. เฌ จินฺตายํ, ยุ. ปจฺจนิเก นีวรณธมฺเม ฌาเปตีติ วา ฌานํ. ฌปฺ ฌาปฺ วา ทาเห, ยุ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. ฌายตีติ ฌานํ. เฌ ธาตุ ยุ ปัจ. ใน วิ. แปลง เอ เป็น อาย บทปลงแปลง เอ เป็น อา.
  35. ตจสาร : (ปุ.) ต้นไม้มีเปลือกเป็นแก่น, ต้นไม้ มีเปลือกแข็ง, ต้นไผ่, ไม้ไผ่. วิ. ตโจ ว ตจโต อุพฺภวา สญฺชาตา จตุพฺภวา.
  36. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  37. นาคร : (ปุ.) ชนผู้เกิดในนคร, ชนผู้อยู่ในนคร, ชาวพระนคร, ชาวเมือง, ชาวกรุง. วิ. นคเร ชาตา นาครา. นคเร วสนฺตีติ วา นาครา.
  38. นิวรณ : (ปุ.) การห้าม, การกั้น, การขัดขวาง, เครื่องห้าม, เครื่องกั้น, เครื่องขัดขวาง, กิเลสอันกั้นจิตไม่ให้บรรจุความดี, ธรรม อันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี, นิวรณ์, นีวรณ์. นิยยานวรณฏฺเฐน นิวารณา นีวารณา วา. ชื่อว่า นิวรณ์ เพราะอรรถ ว่าเป็นเครื่องกั้นธรรมเครื่องนำออก. ไตร. เป็น นปุ. บ้าง. ฌานาทิกํ ทิวาเรนฺตีติ นิวารณาทิ.
  39. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  40. พิลงฺค : (ปุ.) น้ำผักดอง, น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม (เครื่องกินกับข้าวของแขก), น้ำพริก. วิ. วาตํ ลงฺคติ หีนํ กโรตีติ พิลงฺโค. วาตปุพฺโพ, ลคิ คมเน, อ, วาตสฺส พิ. วิเสเสน ลงฺ-คตีติ วา พิลงฺโค.
  41. มิถิเลยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองมิถิลา, ผู้อยู่ในเมืองมิถิลา. วิ. มิถิลายํ ชาโต วสตีติ วา มิถิเสยฺยโก เณยฺยก ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ. ก อาคม.
  42. สมฺมุชฺชนี สมฺมุญฺชนี : (อิต.) ไม้กวาด, ไม้กราด. วิ. วสมฺมุญฺชติ เอตายาติ สมฺมุชฺชนี สมฺมุญฺชน วา. สํปุพฺโพ, มุชิ โสธเน, ยุ, อิตุถิยํ อี.
  43. สรณ : (นปุ.) สรณะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. เยน จตฺตาโร มคฺคา โอธิโส กิเลเส สรนฺติ ตํ ธมฺมํ สรณํ. อริยานํ วสิตเคหตฺตา วา สรณํ. สรฺ หึสายํ, ยุ.
  44. สาน : (ปุ.) หมา, สุนัข. วิ. สามิกสฺส วจนํ สทฺทํ วา สุณาตีติ สาโน. สุ สวเน, ยุ, อุสฺส อาการตฺตํ. สุนฺ คติยํ วา, อ. สาโณ ปิ. รูปฯ ตั้ง สุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อาน.
  45. สีกร : (ปุ.) ฝนตกประปราย วิ. สีตํ กโรตีติ สีกโร. สิญฺจตีติ วา สีกโร. สิจฺ ปคฺฆรเณ, อโร, จสฺส โก. วาตวเสน วา ตโต ตโต สรตีติ สีกโร. สรฺ คติยํ, อ, อสฺส อี, มชฺเฌ กฺอาคโม จ. ส. ศีกร, สีกร.
  46. อุปญฺญาส : (ปุ.) คำนำเรื่อง, อารัมภกถา. วิ. อุป ปฐมํ ปุริมวจนสฺส สมีปํ วา นฺยาโส ฐปนํ อุปญฺญาโส. อุป นิ ปุพฺโพ อาสฺ อุปเวสเน, อ. แปลง อิ ที่ นิ เป็น ย รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. สาวัตถทีปนี เป็น อุปญาส.
  47. อุสีร : (นปุ.) แฝก, หญ้าแฝก, รากแฝก, หญ้า คมบาง, หญ้าไทร. วสฺ กนฺติยํ, อีโร, วสฺสุ (แปลง ว เป็น อุ.), อุสฺ ทาเห วา, อีโร. อุสุ
  48. อนฺเตวาสิกวาส : (ปุ.) คนผู้มีการอยู่ในภายในเป็นปกติ, คนผู้มีปกติอยู่ในภายใน, ศิษย์. วิ. อาจริยสฺส อนฺเต สมีเป วสนสีโล อนฺเตวาสี.อนฺเต วาวาสีอนฺเตวาสี.ส. อนฺเตวาสินฺ.
  49. วจนกฺขม : ค. ผู้ใคร่อยากทำตามคำกล่าวของคนอื่น
  50. วจนกร : ค. ผู้เชื่อฟังคำ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1549

(0.1483 sec)