Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: วาน , then พาน, วาน, วานะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : วาน, 53 found, display 1-50
  1. วาน : นป. เครื่องร้อยรัด, ตัณหา
  2. วานจิตฺตก : นป. เครื่องลาดมีรูปวิจิตรด้วยการปัก
  3. พาน : (นปุ.) เครื่องร้อยรัด, ตัณหา. ดู วาน.
  4. สฺวาณ สฺวาน : (ปุ.) หมา, สุนัข. สุนศัพท์แปลง อุน เป็น วาน รูปฯ ๖๔๗.
  5. เฉตฺวา, เฉตฺวาน : กิต. ตัดแล้ว, ทอนแล้ว
  6. ชุหุวาน : ป. ไฟ, ไม้, ต้นไม้
  7. สฺวาน : ป. สุนัข
  8. สานฺตวาน : (นปุ.) ความเอ็นดู.
  9. อนสิตฺวาน : กิต. ไม่ได้กินแล้ว, อดอยากแล้ว
  10. อปฺปฏิวาน : ค. ซึ่งไม่ถอยกลับ, อันไม่มีสิ่งใดขัดขวาง, ซึ่งไม่มีอุปสรรค
  11. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  12. กปิฏฺฐ กปิตฺถ : (ปุ.) มะขวิด, ต้นมะขวิด. วิ. กวิมฺหิ วานเร ติฏฐตีติ กปิฏโฐ. กวิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ, วสฺส โป, ฏฺสํโยโค. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ ซ้อน ต.
  13. เทวเทว : (ปุ.) เทพผู้ยิ่งกว่าเทพ. พระเทวเทพ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. เทวานํ อติเทโว เทโว. เทวาน มธิโก วา เทโว เทวเทโว.
  14. ปรหิยฺย : (ปุ.) วันอื่นจากวันวาน, วานซืน ( ก่อนวานนี้วันหนึ่ง ). วิ. หิยฺยโต ปโร ปรหิยฺโย. กลับบทหน้าไว้หลัง. อมาทิปรตัป รูปฯ ๓๓๖.
  15. พนฺธุ : (ปุ.) พวกพ้อง, พงศ์, พงศ์พันธุ์, ญาติ, ญาติพี่น้อง, วงศ์, วงศ์วาน. วิ. พนฺธตีติ พนฺธุ. พนฺธียติ สิเนหภาเวนาติ วา พนฺธุ. พนฺธฺ พนฺธเน, อุ, ณุ วา. อตฺตนิ ปรํ พนฺธตีติ วา พนฺธุ. อยํ อมุหากํ วํโสติ สมฺพนฺธิตพฺพฏฺเฐน เปมพนฺธเนน พนฺธตีติ วา พนฺธุ.
  16. มฆวนฺตุ : (ปุ.) มฆวัน มฆวา มฆวาน ท้าวมฆวาน มฆวะ เป็นชื่อของพระอินทร์ทุกคำ วิ. มหิตพฺพตฺตา มฆวา. มหฺ ปูชายํ, วนฺตุ, หสฺส โฆ. เป็น มฆวนฺตุ ลง สิปฐมา วิภัติ เอา นฺตุ กับ สิ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น มฆวา.
  17. สุวาณ สุวาน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, โณ, อุสฺส อุวาเทโส. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้งสุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อุวาน.
  18. โสจิก : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างขุน. วิ. สุจิวานสิปฺปโยคา โสจิโก. ณิก ปัจ.
  19. หนฺท : (อัพ. นิบาต) ก็, เชิญเถิด, เอาเถิด, เอาเถอะ, ช่างเถอะ, ช่างเถิด, วานทีเถิด, ช่วยทีเถิด, ผิดังนั้น, ทำกระไร.
  20. หิยฺยตฺตน : (วิ.) เป็นในวันวาย, มีในวันวาน. วิ. หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตโน. ที่เป็นวิเสสนะ ของ อิต. เป็น หิยฺยตฺตนี. หิยฺย+ตน ปัจ.
  21. หิยฺโย : (อัพ. นิบาต) วันล่วงไปแล้ว, วันวาน, วานนี้, ในวันวาน. กาลสัตตมีนิบาต.
  22. อนย : (วิ.) ไม่ควรแนะนำวิ.นเนตพฺพนฺติอนยํ.นปุพฺโพ, นินีวานเย, อ.
  23. อภิโทส : ป. พลบค่ำ, ย่ำค่ำ, เย็นวานนี้
  24. อภินว : (วิ.) ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ, ใหม่.นุถุติยํ, อ, นโว.นโว.เอวอภินโว. อภิมโตปสตฺโถวานโวอภินโว.
  25. อวิจิอวีจิ : (ปุ. อิต.) อเวจีชื่อนรกขุมใหญ่ขุมที่๘.วิ.อคฺคิชาเลหิจทุกฺเขหิจสตฺเตหิจนฺตถิเอตฺถวีจิอนฺตรนฺติอวีจิ(ไม่ว่างเว้นจากเปลวไฟทุกข์และสัตว์คือมีเปลวไฟทุกข์และสัตว์ลอดกาล).นตฺถิวีจิเอตฺถาติวาอวีจิ.อคฺคิชาลานิวาทุกฺขเวทนานํวาสตฺตานํวานตฺถิวีจิอนฺตรเมตฺถาติวาอวีจิ.
  26. อานย : (ปุ.) การนำมา. อาปุพฺโพนินีวานยเน, อ, ยุ, ส. อานยอานยน.
  27. อานยน : (นปุ.) การนำมา. อาปุพฺโพนินีวานยเน, อ, ยุ, ส. อานยอานยน.
  28. อาภิโทสิก : ค. เนื่องด้วยเย็นวานนี้, ตอนเย็น, ที่บูดเน่า, ค้างคืน
  29. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  30. นิพฺพาณสจฺฉิกรณ นิพฺพานสจฺฉิกรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน,การทำให้แจ้งพระนิพพาน,การทำพระนิพพานให้แจ้ง.
  31. นิพฺพาน : นป. ดู นิพฺพาณ
  32. นิพฺพานคมน : ค. ซึ่งนำไปสู่พระนิพพาน
  33. นิพฺพานคามินี : (อิต.) ปฏิปทาเป็นเครื่อง ยังสัตว์ให้ถึงซึ่งพระนิพพาน. ข้อปฏิบัติ ให้สัตว์ถึงพระนิพพาน.
  34. นิพฺพานธาตุ : อิต. นิพพานธาตุ, ธาตุแห่งความสงบเย็น
  35. นิพฺพานนินฺน : ค. อันน้อมเข้าสู่นิพพาน, ซึ่งมุ่งต่อพระนิพพาน, อันหนักในพระนิพพาน
  36. นิพฺพานปฏิสญฺญุต : ค. อันปฏิสังยุตด้วยนิพพาน, ซึ่งพาดพิงถึงนิพพาน, ซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยนิพพาน
  37. นิพฺพานปตฺต : ค. ผู้บรรลุพระนิพพาน
  38. นิพฺพานปตฺติ : อิต. การบรรลุพระนิพพาน
  39. นิพฺพานปท : นป. บทคือพระนิพพาน
  40. นิพฺพานปริโยสาน : ค. อันสุดลงแค่นิพพาน, มีนิพพานเป็นที่สุด
  41. นิพฺพานสจฺฉิกิริยา : อิต. การกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
  42. นิพฺพานสญฺญา : อิต. ความหมายรู้พระนิพพาน
  43. นิพฺพานสมฺปตฺติ : อิต. การถึงพร้อมพระนิพพาน, การบรรลุพระนิพพาน
  44. นิพฺพานสมฺปทา : อิต. ปฏิปทาให้ถึงพระนิพพาน, การบรรลุพระนิพพาน
  45. นิพฺพานสวตฺตนิก : ค. อันประกอบในความเป็นไปพร้อมเพื่อนิพพาน, มีอันยังสัตว์ให้เป็นไปพร้อมเพื่อความถึงซึ่งพระนิพพาน, อันยังสัตว์ให้เป็นไปในพระนิพพาน
  46. ปรินิพฺพาน : (นปุ.) ความดับสนิท, ปรินิพพาน ศัพท์นี้ส่วนมากใช้เป็นคุณบทของ พระพุทธเจ้า.
  47. พานี : (อิต.) นางฟ้า (ผู้บำเรอเทวบุตร)?
  48. มคฺคผลนิพฺพานสุข : (นปุ.) สุขอันเกิดแล้วแต่มรรคและสุขอันเกิดแล้วแต่ผลและสุข คือพระนิพพานง เป็น อ. ทวัน. มี ปญฺจ. ตัป.,ปญฺจ.ตัป. และ อว.กัม. เป็นภายใน.
  49. มหานิพฺพาน : (นปุ.) พระนิพพานเป็นธรรมอันบุคคลพึงเจริญ, พระนิพพานเป็นธรรมอันบุคคลพึงบูชา, มหานฤพาน.
  50. อนุปาทานปรินิพฺพาน : (นปุ.) อนุปาทานปรินิพพาน คือการดับกิเลสไม่มีเชื้อเหลือ.
  51. [1-50] | 51-53

(0.0234 sec)