วา : อ. หรือ; หรือว่า
ทฺวาทส ทฺวารส พารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่ง ด้วยสอง, สิบสอง. วิ ทฺวีหิ อธิกา ทสาติ ทฺวาทส. เทฺว จ ทส จาติ วา ทฺวาทส. แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา แปลง ท เป้น ร เป็น ทฺ วารส แปลง ทฺวิ เป็น พา เป็น พารส ส. ทฺวาทศ.
วากกรณ : นป. การสนทนา
วาคุริก : ค. ผู้ใช้ข่ายหรือบ่วงดักสัตว์
วาจน : นป. การกล่าว, การสวด, การอ่าน
วาจนก : นป. ที่เป็นที่สวด
วาจาเปยฺย : นป. การพูดอ่อนหวาน
วาจิก : ค. มีคำพูด
วาจุคฺคต : ค. คล่องปาก, ขึ้นปาก
วาเจติ : ก. บอก, สอน
วาชี : ป. ม้า
วาตมณฺฑลิกา : อิต. ลมบ้าหมู
วาตายน : นป. หน้าต่าง
วาติ : ก. ฟุ้งไป, พัด
วาติงฺคณ : ป. มะอึก, มะเขือ
วาเตริต : ค. ซึ่งเคลื่อนไปด้วยลม
วาทกฺขิตฺต : กิต. ซัดไปด้วยคำพูด, โค่นกันด้วยคำพูด
วาเนยฺย : นป. หญ้าแห้วหมู
วายิม : ค. ซึ่งทอ (ผ้า)
วารก : ป. หม้อ, ไห, โอ่ง, ตุ่ม
วาริต : กิต. ห้ามแล้ว
วาริมคฺค : ป. ทางน้ำไหล
วาริวาห : ป. ผู้นำมาซึ่งน้ำ; เมฆ
วาเรติ : ก. ห้าม, ป้องกัน
วาลุกาปุญฺช : ป. กองทราย
วาสน : นป. การนุ่งห่ม, การอบ, เครื่องอบ
วาสาคาร : ป., นป. ห้องอยู่, ห้องนอน
วาสิ : อิต. มีด
วาสิก, (วาสี) : ค. ผู้อาศัยอยู่
วาสิชฏ : นป. ด้ามขวาน
วาสิต : กิต. อบแล้ว
วาสิตก : นป. แป้งหอม
วาสิผล : นป. ใบมีด
วาสุกี : ป. พญานาค
วาสุเทว : ป. เหล่ากอแห่งพระวสุเทว, พระนารายณ์ปางพระกฤษณะ
วาเสฏฺฐ : ป. ชื่อฤษี
วาเสติ : ก. ให้อยู่; สร้าง; ส่งกลิ่น
วาหก : ค. ผู้นำไป
วาหน : นป. สิ่งที่นำไป, พาหนะ
วาหี : ค. ผู้นำไป
ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
อนฺเตวาสิกวาส : (ปุ.) คนผู้มีการอยู่ในภายในเป็นปกติ, คนผู้มีปกติอยู่ในภายใน, ศิษย์. วิ. อาจริยสฺส อนฺเต สมีเป วสนสีโล อนฺเตวาสี.อนฺเต วาวาสีอนฺเตวาสี.ส. อนฺเตวาสินฺ.
ทุพฺพา : (อิต.) หญ้าแพรก วิ. อวมงฺคลํ ทุพฺพตีติ ทุพฺพา. ทุพฺพ หึสายํ, อ. ทุนฺนิมิตฺตาทโย วาเรนฺติ เอตายาติ วา ทุพฺพา. ทุนฺนิมิต-ตาทิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, อ. ลบบทหหน้าเหลือ ทุ และ ลบ รฺ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ อา อิต. ส. ทูพ, ทุรฺพพา.
กมฺพุคีวา : (อิต.) คองามคล้ายกรองทอง คือ คอมีปล้อง ๓ ปล้อง เป็นลักษณะอย่าง หนึ่งของมหาปุริสลักษณะ, คอปล้อง. วิ. กมฺพุมเยน อาลิงฺเคน สนฺนิภา คีวา กมฺพุคีวา.
คีวา : (อิต.) หนี้, สินไหม, สินใช้ (เป็นเหมือน เครื่องผูกคอไว้), คอ. วิ. คายติ เอตายาติ คีวา. คา สทฺเท, อีโว.
คูถ : (ปุ. นปุ.) อุจจาระ, ขี้, คูถ.คุถฺ กรีสุสฺสคฺเค, อ. คุปฺ โคปเน, วา,โถ,ปฺโลโป. คุ กรีสุสฺสคฺ เค, โถ, ทีโฆ จ.ส.คูถ.
ติมิงฺคล : (ปุ.) ติมิงคละ ชื่อปลาใหญ่, ปลา ติมิงคละ. วิ. ติมิโน คโล ติมิงฺคโล. ติมํ คิลตีติ วา ติมิงฺคโล. ติมิปุพฺโพ , คิลฺ อทเน, อ, อิสฺสตฺตํ คิรฺ นิคิรเน, วา, รสฺส ลตฺตํ. ส. ติมฺคล.
ทลิทฺท ทลิทฺทก ทฬิทฺท : (วิ.) จน, ยากจน, เข็ญใจ, ยากไร้, ไร้ทรัพย์, ตกยาก. รูปฯ. ๖๕๕ ทลฺ ทุคฺคติยํ อิทฺโท. อภิฯ ทฬิทฺทฺ ทุคฺคติยํ, อ. ทลฺ วิทารเณ, วา,อิโท, ทฺวิตฺตํ.
ทฺวารพนฺธน : (นปุ.) ระเบียง วิ. ทฺวารํ พนฺธติ เอตฺถาติ ทฺวารพนฺธนํ.
เทวานุภาว : ป. อานุภาพของเทวดา, เทวานุภาพ