Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: วิช , then วช, วิช, วิชา, วีช .

ETipitaka Pali-Thai Dict : วิช, 63 found, display 1-50
  1. วิชหน : นป. การละ, การสละ
  2. วิชหิต : กิต. ละแล้ว
  3. ทฺวิช : (ปุ.) พราหมณ์ ชื่อคนวรรณะที่ ๒ ในวรรณะ ๔ วิ. กุลาจารพฺราหฺมณวเสน ทฺวิกฺขตฺตํชาตตฺตตา ทฺวิโช. ฟัน (กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปาก) วิ. ทฺวีสุ ฐาเนสุ ทฺวิกฺขตฺตุ วา ชายเตติ ทฺวิโช. สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก. วิ. มาตุกุจฺฉิโต อณฺฑโต จาติ ทฺวิกฺขตฺตุชาตตฺตา ทฺวิโช. ส. ทฺวิช.
  4. ทพฺพิมุข, ทพฺพิมุขทฺวิช : ป. นกเงือก, นกชนิดหนึ่งมีปากแหลมคมอยู่ในเขตร้อน
  5. ทพฺพิมุขทฺวิช : (ปุ.) นกเงือก วิ ทพฺพสทิสํ มุขํ ตุณฺหํ ยสฺส ทฺวิชสฺส โส ทพฺพิมุขทฺวิโช.
  6. วช : ป. คอกวัว
  7. อนุวิชชน : (นปุ.) การสอบสวน, การพิจารณา.
  8. อิริตฺวิช : ป. พราหมณ์ผู้บูชายัญ
  9. อิริตฺวิช อิริตฺวิชฺช อิริทฺวิช อิริทฺทิช : (ปุ.) พราหมณ์ผู้ทำหน้าที่บูชายัญ, พราหมณ์ผู้ บูชายัญ. วิ. อุตุมฺหิ ยชตีติ อิริตฺวิฒโช.
  10. วชติ : ก.ไป, ดำเนินไป
  11. วิชาตา : อิต. คลอดแล้ว
  12. วิชาติก : ค. ต่างชาติ
  13. วิชานาติ : ก. รู้แจ้ง
  14. วิชายติ : ก. คลอด
  15. วีชติ : ก. พัด, วี
  16. ปริชานน : (นปุ.) การกำหนดรู้, ความกำหนด รู้, วิ. ปริฉินฺทิตฺวา ญาณํ ปริชานนํ. ความรู้รอบ, ความรอบรู้, วิชา, ปัญญา. ปริปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ.
  17. มนฺตา : (อิต.) ปรีชา, วิชา, ปัญญา. มนฺ ญาเณ, อนฺโต. ลบที่สุดธาตุ. อภิฯ.
  18. ปฏิวิชานาติ : ก. รู้เฉพาะ, เข้าใจชัด
  19. อนุวชติ : ก.ดู อนุพฺพชยติ
  20. โกมารภจฺจ : ๑. นป. วิชาสำหรับรักษาโรคเด็ก, กุมารเวชวิทยา; ๒. ค. ผู้ที่เจ้าชายชุบเลี้ยง (หมายถึงหมอชีวกโกมารภัจ)
  21. คณนา : (อิต.) การนับ, ฯลฯ, วิชาคำนวณ.
  22. คณาจริย : (ปุ.) อาจารย์ของหมู่, คณาจารย์ (อาจารย์ของมหาชน). ภาษาพูด เรียก พระที่มีวิชาอาคมขลังว่าพระคณาจารย์ ซึ่งมีความหมายไม่ตรงกับศัพท์นี้.
  23. คนฺธพฺพา : (อิต.) วิชาระบำ.
  24. คนฺธารี : (อิต.) วิชาหายตัวได้.
  25. ควช : (ปุ.) โคลาน (งัวลาน คืองัวป่า), โค เพลาะ (วัวโทน เที่ยวไปโดดเดี่ยว). วิ. โค วิย วชติ อชตีติ วา ควโช. วชฺ อชฺ วา คมเน, อ.
  26. โจริกา : (อิต.) กิริยาแห่งขโมย, กิริยาอันเป็น ของแห่งโจร, วิชาอันเป็นของแห่งโจร, การทำของโจร. วิ. โจรสฺส กมฺมํ โจริกา. ณิกปัจ.
  27. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  28. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  29. เตวิชฺช : (วิ.) ผู้มีวิชาสาม.
  30. ถรุสิปฺป : นป. ศิลปะทางอาวุธ, วิชาฟันดาบ
  31. ทารกติกิจฺฉา : อิต. กุมารเวชศาสตร์, การรักษาโรคเด็ก, วิชารักษาโรคเด็ก
  32. ธนุพฺเพธา : (อิต.) วิชาแผลงศร.
  33. นกฺขตฺตวิชฺชา : (อิต.) ความรู้เรื่องดวงดาว, วิชาดูดาว, วิชาดูฤกษ์ยาม.
  34. นาวิกวิชฺชา : (อิต.) วิชาเดินเรือ, นาวิกวิทยา. ส. นาวิกวิทฺยา.
  35. นิติกร : (ปุ.) คนผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกฎหมาย, คนผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิชา กฎหมาย.
  36. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  37. ปพฺพชน : (นปุ.) การออก, การออกไป, การบวช, การเว้น. ปปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, ยุ. การค้นหา, การแสวงหา. วชฺ มคฺคเน.
  38. ปพฺพชา : (อิต.) การออก, การออกไป ( จาก เรือน คือบวช ), การบวช, การออกบวช. ปปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. การค้นหา การแสวงหา ( ความพ้นทุกข์ ) . วชฺ มคฺคเน.
  39. ปพฺพชิต : (ปุ.) นักบวช ( ทุกประเภท ) , ภิกษุ, บรรพชิต. วิ. ปพฺพชฺชา สญฺชาตา อสฺสาติ ปพฺพชิโต. สญฺชาตตฺเถ อิโต. เสฏฺฐตฺตํ วชตีติ วา ปพฺพชิโต. วชฺ คมเน, โต, อิอา คโม.
  40. ปพฺพาชน : (นปุ.) การขับไล่, การเนรเทศ. ปปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, ยุ, ทีโฆ.
  41. ปรปุฏฺ : (ปุ.) นกกระเหว่า ชื่อนกผู้อันนกกา ฟักจนคลอดจากไข่เลี้ยงไว้ ( ระยะที่ยังบิน ออกไปไม่ได้ ). วิ. ปเรน วิชาติเยนกาเกน โปสิโตติ ปรปุฏฺโฐ. ปรปุพฺโพ, ปุสฺโปสเน, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
  42. ปูรณา : (อิต.) วิชาโบราณคดี.
  43. พฺยาธ : (ปุ.) พราน, นายพราน. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาโธ พฺยาโธ วา. วิชวิชฺฌเน, โณ. แปลง อิ เป็น ย แล้วทีฆะ.
  44. โยคา : (อิต.) วิชาช่าง.
  45. วิชฺชาธร : ค. ผู้ทรงไว้ซึ่งวิช
  46. สมฺมติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ, วิชาว่าด้วยระเบียบ. ติ ปัจ.
  47. สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
  48. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  49. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
  50. หตฺถสิปฺป : (นปุ.) วิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศิลป์ คือวิชาเกี่ยวกับการใช้มือทำสิ่งต่าง ๆ หัตถศิลป์ ไทยใช้ในความหมายว่า การช่างทำด้วยมือ.
  51. [1-50] | 51-63

(0.0487 sec)