วิวชฺชน : นป. การเว้น, การสละ
วิวฏ : กิต. เปิดแล้ว
วิวฏฺฏ : นป. พระนิพพาน
วิวฏฺฏติ : ก. หมุนกลับ
วิวณฺเณติ : ก. ติเตียน, กล่าวโทษ
วิวทติ : ก. โต้เถียง, ทะเลาะ
วิวร : นป. ช่อง, ปล่อง, โพรง
วิวรณ : นป. การเปิด, การไขความ, การเผยแผ่
วิวรติ : ก. เปิด, ไขความ
วิวส : ค. หมดอำนาจ
กุญฺจิกาวิวร : (นปุ.) ช่องแห่งกุญแจ, ช่อง กุญแจ, ช่องดาฬ. กุญฺจิกา+วิวร.
เจโตวิวรณ : นป. การเปิดเผยซึ่งจิต, การปล่อยใจ
ฉวิวณฺณ : ป. ผิวพรรณ, สีของผิว
ปวิวตฺต : กิต. แยกออก, ไม่รวมกัน, สงบสงัด
อนุวิวฏฺฏ : (นปุ.) อนุวิวัฏฏะชื่อผ้าผืนยาวของมณฑลจีวรและสังฆาฏิจีวรหรือสังฆาฏิชนิด ๕ ขันธ์มีอนุวิวัฏฏะ ด้านซ้าย๒ด้านขวา๒.
อวิวฏ : ค. ไม่เปิด, ไม่ห่าง
อวิวยฺห : ค. ยากที่จะทนได้; ไม่ควรจะแต่งงาน
อวิวรทนฺต : ค. มีฟันไม่ห่าง, มีฟันเรียบเสมอดี
นิคฺคหิต นิคฺคหีต : (นปุ.) นิคหิต ชื่อ พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นรูป “ ํ ” ซึ่งต้อง อาศัยสระ อ อิ อุ ออกเสียงเป็น อัง อิง อุง. วิ. รสฺสรํ นิสสาย คยฺหติ อุจฺจารียตีติ นิคฺคหิตํ กรณํ นิคฺคหิตฺวา อวิวเฏน มุเขน คยฺหติ อุจฺจารียตีติ วา นิคฺคหิตํ.
อวาปูรณ : (นปุ.) ลูกกุญแจ, ลูกตาล, เครื่องบิด, เครื่องเปิด, เครื่องไข.วิ. อวาปูรติวิวรติทฺวารํ เอเตนาติ อวาปูรณํ.อวปุพฺโพ, ปุรฺสํวรเณ, ยุ.อถวา, วุสํวรเณ, ยุ, วสฺสโป, อุปสคฺคสฺสทีฆตา, อุการสฺสทีฆตา, รฺอาคโม.สัททนีติวางอว อาเป็นบทหน้าเป็นอวาปุรณบ้าง.
ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.