วิส : นป. พิษ
อาสิวิส อาสีวิส : (วิ.) มีพิษร้าย, มีพิษที่เขี้ยว. ส. อาศีวิษ อาศิรวิษ.
วิสธร : ป .ผู้ทรงไว้ซึ่งพิษ; งู
วิสยุตฺต : กิต. แยกจากกัน
วิสโยค : ป. การแยกจากกัน
วิสวาท : ป. การหลอกลวง, การพูดปด
วิสวาเทติ : ก. หลอกลวง, พูดปด
มลวิส : (นปุ.) พิษอันเกิดจากความมัวหมอง, พิษอันเกิดจากอากาศไม่บริสุทธิ์.
สวิส : (วิ.) เป็นไปด้วยยาพิษ ซาบด้วยยาพิษ.
อวิส : ค. ไม่ใช่ยาพิษ, ไม่มียาพิษ, ไม่เป็นพิษ
อาสีวิส : ป. งูพิษ, อสรพิษ
โคฏวิย, โคฏวิส : ป. ตะกวด, สัตว์งวง; ส่วนของเรือ; ดาดฟ้า, บาหลี; สมอเรือ, แจว, พาย
โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
โควิส โควุสก : (ปุ.) วัวถึก วัวเถลิง ( วัวเปลี่ยว วัวหนุ่ม ). โค+วสุ (คะนอง). ศัพท์ต้นแปลง อุ เป็น อิ ศัพท์หลัง ก สกัด. มีต้นไม้ชนิด หนึ่งชื่อ วัวเถลิง จะหมายถึงด้วยหรือไม่ ?
โควิส, - วุสก : ป. โคถึก, โคเถลิง
จิตฺตวิสสฏฐ : ค. (ธรรม) ที่ไม่เจือจิต, ไม่เกี่ยวข้องกับจิต
จีวรปฏิวิส : ป. ส่วนจีวร, ชิ้นส่วนของจีวร
ตาวิส : (ปุ.) สวรรค์, ทะเล, ลูกสาวพระอินทร์, แผ่นดิน ?
ทิฏฺฐิวิสโยค : ป. ความพรากจากทิฐิ, ความไม่ข้องเกี่ยวกับความเห็นผิด
อวิสวาท : ป. การไม่พูดลวงโลก, การไม่พูดโกหก
อวิสวาทก : ค. ผู้ไม่พูดหลอกลวง, ผู้ไม่พูดคลาดเคลื่อนจากความจริง
อวิสวาทนตา : อิต. ความไม่พูดหลอกลวง, ความซื่อสัตย์
อวิสวาที : ค. ดู อวิสํวาทก
อวิสวาเทติ : ก. ให้พูดคำไม่หลอกลวง, ให้พูดแต่วาจาสัตย์
คร : (นปุ.) พิษ เช่นพิษงู. ครฺ นิครเณ, อ. เป็น ปุ. ก็มี.
ครฬ : (นปุ.) พิษ (เช่นพิษงู) วิ. ครตีติ ครฬํ. ครฺ อทเน, อโฬ. คริติ ชีวนนฺติ วา ครฬํ. คิรฺ นิคิรเณ, อโฬ, อิสฺส อตฺตํ.
ปฏิพาหก : ค., ป. ซึ่งห้าม, ซึ่งป้องกัน, ซึ่งขัดขวาง; ยาถอน (พิษ)
กาลกูฏ : ป. ยอดเขาหิมาลัยยอดหนึ่ง, ยาพิษชนิดหนึ่ง
กาฬกูฏ : (ปุ.) กาฬกูฏ ชื่อยอดแห่งทิวเขา หิมาลัย และเป็นชื่อของพิษงู, เม็ดดำ ๆ.
กิมฺปกฺก, กิมฺผล : นป. ผลไม้มีพิษชนิดหนึ่งลูกเท่าผลมะม่วง
กึปกฺก, กิมฺปกฺก : นป. ผลกิมปักกะ, ผลไม้ชนิดหนึ่งซึ่งมีพิษ
ครล : นป. พิษงู
โฆรวิส : (วิ.) มีพิษร้ายแรง, มีพิษกล้า. วิ. วิสํ อสฺส โฆรนฺติ โฆรวิโส ณ ปัจฺ ราคาทิตัท.
ฑห : (ปุ.) ความร้อน, โรคพิษ, โรคร้อน, โรค ร้อนใน. ฑหฺ ฑยฺหเน, อ.
ฑาห : (ปุ.) ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ไฟ, ไข้พิษ, โรคพิษ, ฯลฯ. ฑหฺ+ณ ปัจ.
นิท : ป. ยาพิษ
นิพฺพิส : ๑. นป. ค่าจ้าง, รางวัล, รายได้;
๒. ค. ซึ่งไม่มีพิษ
มหาวิกฏ มหาวิกต : (นปุ.) มหาวิกัติ ชื่อยาแก้พิษขนานหนึ่งมี ๔ ยาง คือ มูต คูถ เถ้า ดิน.
มหาวิกติ : (อิต.) มหาวิกัติ ชื่อยาแก้พิษขนานหนึ่งมี ๔ ยาง คือ มูต คูถ เถ้า ดิน.
อกฺขิ : (นปุ.) ตา, ดวงตา, นัยน์ตา (หมายเอาลูกตาที่กลอกไปมา)วิ. อสติ วิสเยสุพฺยาปีวิย ภวตีติ อกฺขิ. อสุ พฺยาปเน, ขิ, สสฺส โก. อถวา, อกฺขติ วิสเยสุ พฺยาปีภวติ อกฺขติ วา เอเนนาติ อกฺขิ. อกฺข พฺยาปนทสฺสเนสุ, อิ. ส. อกฺษิ.
อลคทฺท : (ปุ.) งูพิษ, งูมีพิษอันอาจ (พิษกล้า), งูเลื้อยไว.วิ.อรํสีฆํคจฺฉตีติอลคทฺโท.อรํปุพฺโพ, คมฺคติยํ, โท, นิคฺคหิตโลโป, รสฺสลตฺตํ, มสฺสทตฺตญฺจ.ผู้ให้ซึ่งทุกข์เพียงพอวิ. โค วุจฺจติทุกฺขํ, ตํเทตีติคโท, วิสํ, อลํปริปุณฺณํคทํเอตสฺสาติอลคทฺโท
อสิวีส : (ปุ.) สัตว์มีพิษเพียงดังดาบ, อสรพิษ(มีพิษในเขี้ยว มีพิษที่เขี้ยว).
อหิวาตกโรค : (ปุ.) โรคอันบังเกิดแล้วแต่ลมมีพิษเพียงดังพิษแห่งงู, โรคอันบังเกิดแต่ลมมีพิษราวกะว่าพิษแห่งงู, โรคอันเกิดแต่ลมมีพิษประดุจงู (ร้าย).