วิส : นป. พิษ
วิสธร : ป .ผู้ทรงไว้ซึ่งพิษ; งู
วิสยุตฺต : กิต. แยกจากกัน
วิสโยค : ป. การแยกจากกัน
วิสวาท : ป. การหลอกลวง, การพูดปด
วิสวาเทติ : ก. หลอกลวง, พูดปด
อาสิวิส อาสีวิส : (วิ.) มีพิษร้าย, มีพิษที่เขี้ยว. ส. อาศีวิษ อาศิรวิษ.
โคฏวิย, โคฏวิส : ป. ตะกวด, สัตว์งวง; ส่วนของเรือ; ดาดฟ้า, บาหลี; สมอเรือ, แจว, พาย
โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
โควิส โควุสก : (ปุ.) วัวถึก วัวเถลิง ( วัวเปลี่ยว วัวหนุ่ม ). โค+วสุ (คะนอง). ศัพท์ต้นแปลง อุ เป็น อิ ศัพท์หลัง ก สกัด. มีต้นไม้ชนิด หนึ่งชื่อ วัวเถลิง จะหมายถึงด้วยหรือไม่ ?
โควิส, - วุสก : ป. โคถึก, โคเถลิง
จิตฺตวิสสฏฐ : ค. (ธรรม) ที่ไม่เจือจิต, ไม่เกี่ยวข้องกับจิต
จีวรปฏิวิส : ป. ส่วนจีวร, ชิ้นส่วนของจีวร
ตาวิส : (ปุ.) สวรรค์, ทะเล, ลูกสาวพระอินทร์, แผ่นดิน ?
ทิฏฺฐิวิสโยค : ป. ความพรากจากทิฐิ, ความไม่ข้องเกี่ยวกับความเห็นผิด
มลวิส : (นปุ.) พิษอันเกิดจากความมัวหมอง, พิษอันเกิดจากอากาศไม่บริสุทธิ์.
วส : ป. อำนาจ
สวิส : (วิ.) เป็นไปด้วยยาพิษ ซาบด้วยยาพิษ.
อวิส : ค. ไม่ใช่ยาพิษ, ไม่มียาพิษ, ไม่เป็นพิษ
อวิสวาท : ป. การไม่พูดลวงโลก, การไม่พูดโกหก
อวิสวาทก : ค. ผู้ไม่พูดหลอกลวง, ผู้ไม่พูดคลาดเคลื่อนจากความจริง
อวิสวาทนตา : อิต. ความไม่พูดหลอกลวง, ความซื่อสัตย์
อวิสวาที : ค. ดู อวิสํวาทก
อวิสวาเทติ : ก. ให้พูดคำไม่หลอกลวง, ให้พูดแต่วาจาสัตย์
อาสีวิส : ป. งูพิษ, อสรพิษ
อกฺขิ : (นปุ.) ตา, ดวงตา, นัยน์ตา (หมายเอาลูกตาที่กลอกไปมา)วิ. อสติ วิสเยสุพฺยาปีวิย ภวตีติ อกฺขิ. อสุ พฺยาปเน, ขิ, สสฺส โก. อถวา, อกฺขติ วิสเยสุ พฺยาปีภวติ อกฺขติ วา เอเนนาติ อกฺขิ. อกฺข พฺยาปนทสฺสเนสุ, อิ. ส. อกฺษิ.
คุณเทสนาปริยตฺตินิสฺสตฺตนิชฺชีววส : (วิ.) อันสามารถแห่งคุณธรรมและเทสนาธรรม และปริยัติธรรม และนิสสัตตนิชชีวธรรม.
จริยวส จริยาวส : (ปุ.) อำนาจแห่งจริยาอัน ตนพึงประพฤติ, อำนาจแห่งจริยะ, อำนาจ แห่งจริยา.
ตุฏฺฐภาวมงฺกุภาววส : (ปุ.) ความสามารถ แห่งความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีและความเป็นแห่งบุคคลผู้เก้อ, สามารถแห่งความเป็นผู้ยินดีและความเป็นผู้เก้อ.
วสี : ค. ผู้มีอำนาจ, ผู้ชนะตน
วสุ : นป. ทรัพย์, สมบัติ
วุส : ป. โคผู้
เวส : ป. เครื่องแต่งตัว, เพศ เช่น เพศหญิง, เพศชาย
เวสิยา, เวสิ : อิต. หญิงแพศยา
อชฺฌตฺตนิลกสิณาทิรูปชฺฌานวส : (ปุ.) อำนาจแห่งการเพ่งซึ่งรูปมีกสิณอันบัณฑิตกำหนดแล้วด้วยสีเขียวอันเป็นไปทับซึ่งตนเป็นต้น.
อสิวีส : (ปุ.) สัตว์มีพิษเพียงดังดาบ, อสรพิษ(มีพิษในเขี้ยว มีพิษที่เขี้ยว).
ชานปท : (วิ.) ผู้อยู่ในชนบท วิ. ชนปเท วส- นฺตีติ ชานปทา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
กกฺขล กกฺขฬ : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ชั่วร้าย, แข็ง กล้าแข็ง, กระด้าง, หยาบ, หยาบช้า, หยาบคาย, ทารุณ, สาหัส, รุนแรง, ขรุขระ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺขโล กกฺขโฬ วา. กิพฺ พิสปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, กิพฺพิสโลโป, อิสฺส อตฺตํ, กรสฺส ขโร, รสฺส ลตฺตํ ฬตฺตํ วา, กฺสํโยโค. ส. กฐร.
นิพฺเพส : (ปุ.) ค่าจ้าง, บำเหน็จ. นิปุพฺโพฺ วิสฺ ผรเณ, โณ. เป็น นิเวส บ้าง.
นิวสถ : (ปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. นิวสถ.
นิวสน : (นปุ.) การนุ่ง, การห่ม, การนุ่งห่ม. นิปุพฺโพ, วสฺ อจฺฉาทเน, ยุ. ส. นิวสน.
นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
ปรนิมฺมิตวสวตฺตี : (ปุ.) เทวดาชั้นปรนิม มิตวสวัตตี วิ. ปรนิมฺมิเตสุ โภเคสุ วสํ วตฺเตนฺตีติ ปรนิมฺมิตวสวตฺตี ( เทวา ) . ปรนิมมิตวสวัตดี ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๖.
ภิส : (นปุ.) แปลเหมือน ภึส. วิสฺ เปรเณ, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ.
ภึส ภึสร : (นปุ.) ราก, เหง้า, รากบัว, เหง้าบัว. วิสฺ เปรเณ, อ, อโร, นิคฺคหิตาคโม. แปลง วิ เป็น ภิ.
สนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วม, การอยู่ร่วมกัน, การอยู่ด้วยกัน,การอยู่อาศัย, การอยู่อาศัยร่วมกัน, ความอยู่ร่วม,ฯลฯ.สํ นิ ปุพฺโพ,วสฺ นิวาเส, โณ.
สนฺนิเวส : (ปุ.) การตั้งลง, การตระเตรียม, การเข้าไป, การเข้าไปอยู่, ทรวดทรง, สัณฐาน, สํ นิ ปุพฺโพ, วิสฺ ปเวสเน, โณ.
อชฺฌาวสฏฺฐอชฺฌาวสถ : (ปุ.) ที่อยู่แรม, เรือน.อธิ อา ปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โฐ, โถ
อชฺฌาวสฏฺฐ อชฺฌาวสถ : (ปุ.) ที่อยู่แรม, เรือน. อธิ อา ปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โฐ, โถ
อมาวสี อมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และ พระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวัน สิ้นเดือนทางจันทรคติ. วิ. อมา สห วสนฺติ รวิจนฺทา ยสฺสํ สา อมาวสี. อมาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, ณี. ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.