Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: วิเศษ , then พิเศษ, วิเศษ, วิเสส .

ETipitaka Pali-Thai Dict : วิเศษ, 90 found, display 1-50
  1. อคฺค : (วิ.) มาก, ยอด, ยิ่ง, ดียิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, เป็นประธาน, ก่อน, แรก, หัวปี (ทีแรก เกิดก่อน), เอก, สูง, สูงสุด.วิ.อชติคจฺฉติเสฏฐภาวนฺติอคฺโค. อชฺ คมเน, อ, ชสฺส โค. คปจฺจโย วา. ส. อคฺร.
  2. อติสยติ : ก. ล่วง, ล้ำ, วิเศษ
  3. อภิวิสิฏฺฐ : ก. ประเสริฐยิ่ง, วิเศษ
  4. อุทาร : (วิ.) เลิศ, ยิ่ง, เลิศยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, วิเศษ, สำคัญ, สูง. ส. อุทาร.
  5. วิเสส : ค. วิเศษ, ดีเยี่ยม
  6. พฺยตฺต : (วิ.) ผู้เป็นไปวิเศษ, ปรีชา, ฉลาด, เฉียบแหลม, แจ้ง แจ่มแจ้ง. วิเสส+อทฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ.
  7. กาลวิเสส : (ปุ.) กาลวิเศษ, กาลพิเศษ.
  8. กมฺมฎฐ าน : (นปุ.) การตั้งอยู่แห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่ง การงาน, การงานอันเป็นที่ตั้งแห่งการบรรลุคุณวิเศษ, กัมมัฏฐาน กรรมฐานชื่อ ของการทำงานทางใจ มี ๒ อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ๑. วิ. กมฺมสฺส ฐานํ กมฺมฏฺฐานํ. กมฺมํ คุณวิเสสคมนสฺส ฐานํ กมฺมฏฐานํ วา. ซ้อน ฏฺ.
  9. กมฺมวิเสส : ป. ความวิเศษแห่งกรรม, ความแตกต่างแห่งกรรม
  10. กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
  11. ฉฬภิญฺญาปฏิสมฺภิทาทิปฺปเภทคุณปฏิมณฑิต : (วิ.) ผู้ประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณอันต่าง ด้วยธรรมวิเศษมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิ- ทาเป็นต้น, ผู้ประดับประดาแล้วด้วย..., ผู้ อันคุณมีคุณมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิทา เป็นต้นเป็นประเภทประดับแล้ว.
  12. ญาณวิเสส : ป. ญาณวิเศษ
  13. ตุ : (อัพ. นิบาต) ส่วนว่า, ก็. เป็นไปในความวิเศษ เหตุ และการห้ามเป็นต้น. แล เป็น ปทปูรณะ.
  14. ทณฺฑวินิปาต : (วิ.) อันยังอาชญาให้ตกไป โดยไม่เหลือวิเศษ, ลงไม้, ลงอาชญา, เฆี่ยน, ตี.
  15. ทิพฺโพสธ : นป. ทิพยโอสถ, ยาทิพย์, ยาวิเศษ
  16. ธมฺมสุธมฺมตา : อิต. ความวิเศษหรือความดีเด่นแห่งธรรม
  17. นิปฺผาว : (ปุ.) ใบไม้วิเศษอันลมให้สำเร็จ, ใบ ไม้วิเศษมีลมให้สำเร็จ. วกาโร วาเต โหติ.
  18. ผลวิปาก : (ปุ.) ความสุกวิเศษแห่งผล, ความสุกวิเศษแห่งผลแห่งกรรม.
  19. พฺยาปาล : (วิ.) ผู้รักษาโดยเอื้อเฟื้อวิเศษ, ผู้ดูแลโดยเอื้อเฟื้อโดยวิเศษ, ผู้ดูแลรักษาคนไข้, ผู้ปฏิบัติคนไข้.
  20. มจฺฉณฺฑี : (อิต.) น้ำอ้อย (เช่นกับฟองปลา). มจฺฉณฺฑ-สทิสตฺตา มจฺฉณฺฑี. น้ำตาลทราย (ให้สุกมาจากรสวิเศษของอ้อย).
  21. มารวิชย : (ปุ.) การชนะวิเศษซึ่งมาร, การชนะมาร, ความชนะมาร, มารวิชัย (ผู้ชนะมาร). เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า. คำ มารวิชัย นี้ไทยใช้เรียก พระพุทธรูปปางชนะมาร คือ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาพาดพระชานุ (เข่า).
  22. วิ : อ. วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, ไม่มี
  23. วิญฺญู : ค. ผู้รู้วิเศษ
  24. วิธิ : ป. การทรงไว้อย่างวิเศษ; แบบ, กฎ, ธรรมเนียม
  25. วินายก : ค. ผู้นำวิเศษ
  26. วิวาห : ป. การนำไปวิเศษ, การแต่งงาน
  27. วิเสสาธิคม : ป. การบรรลุธรรมวิเศษ
  28. วิเสสี : ค. ผู้มีความวิเศษ
  29. วิเสเสติ : ก. ดีวิเศษ
  30. สุฏฺฐุตา : อิต. ความประเสริฐ, ความวิเศษ
  31. อตฺตวินิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือวิเศษซึ่งตน, การยังตนให้ตกไป, การทำลายซึ่งตน, การฆ่าตัวตาย.
  32. อตฺตวินิปาตกมฺม : (นปุ.) การยังตนให้ตกไปโดยไม่เหลือวิเศษกรรมคือการทำลายซึ่งตน, การฆ่าตัวตาย, อัตวินิบาตกรรม.
  33. อติสเยน : ก. วิ. วิเศษยิ่ง, ล้ำยิ่ง
  34. อาจิณฺณอาจิณฺณกมฺม : (นปุ.) อาจิณณกรรมคือกรรมที่ทำเสมอ ๆ เนือง ๆ บ่อย ๆ. วิ.อาจียติ ปุนปฺปุนํกรียตีติอาจิณฺณํ. อาปุพฺโพจิจเย, โต.แปลงตเป็น อิณฺณไทยใช้อาจิณเป็นวิเศษในความว่าเป็นปกติเนือง ๆบ่อย ๆ เสมอ.
  35. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  36. อญฺเจติ, อญฺจยติ : ก. แปลก, พิเศษ
  37. อพฺโพหาริก,- ริย : ค. กล่าวอ้างไม่ได้, กล่าวไม่ได้ว่ามี, เพิกเฉย, พิเศษ
  38. โอธิโส : ก. วิ. โดยส่วน, โดยถ่องแถว, เฉพาะ, พิเศษ
  39. อจฺเจก : (วิ.) ผิดปกติ, รีบร้อน, จำเป็น, บังเอิญเป็น, พิเศษ.
  40. อติเรก : (วิ.) อันหนึ่งเกิน, ยิ่งกว่าหนึ่ง, เหลือเกิน, ยิ่งเกิน, เกินกว่าหนึ่ง, พิเศษ.วิ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ. เอก+อติ กลับบทหน้าไว้หลัง รฺ อาคม. ส. อติเรก.
  41. กมฺโพช : (ปุ.) กัมโพชะ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. กมฺพุปุพฺโพ, โอชฺ ทิตฺติยํ, อ. ส. กมฺโพช.
  42. กสฺมีร : (ปุ.) กัสมีระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ. กาสฺ ทิตฺติยํ, มีโร. เอา อา เป็น อ เป็นกสฺมิร โดยรัสสะ อี เป็น อิ บ้าง. ส. กศฺมีร.
  43. กาสิ : (ปุ.) กาสี ชื่อชนบทพิเศษ ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ วิ. สมฺปตฺติยา กาสตีติ กาสิ. กาสฺ ทิตฺติยํ, อิ. เวสฯ เป็น กาสี.
  44. กุสินารา : (อิต.) กุสินารา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ยสฺส มาปิตกาเล นิมิตฺต โมโลเกนฺตา พฺราหฺมณา กุสหตฺถนรํ ปสฺสิตฺวา มาเปนฺติ สา กุสินารา.
  45. โกชว : (ปุ.) โกเชาว์ อาสนะพิเศษทั้งกว้างทั้งยาว, ผ้าลาด, ผ้าทำด้วยขนแกะ, ผ้าโกเชาว์, พรม, เบาะ, เปล.
  46. โกสมฺพี : (อิต.) โกสัมพี ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ขาทถ ปิวถาติ อาทีหิ ทสหิ สทฺเทหิ กุสนฺติ เอตฺถาติ โกสมฺพี. กุสฺ อวฺหาเณ, วี, นิคฺคหิตาคโม, ฎีกาอภิฯ ลง พ ปัจฺ อี อิต.
  47. คนฺธธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. คํ ปฐวึ ธาเรนฺตีติ คนฺธารา. กิตฺติคนฺเธน อรนฺตีติ วา คนฺธารา. เป็นชื่อของสระน้ำด้วย.
  48. คิหิลิงฺค : นป. เพศคฤหัสถ์, ลักษณะพิเศษของคฤหัสถ์
  49. โคณก โคนก : (ปุ.) ผ้าโกเชาว์ใหญ่ชิ้นยาว, อาสนะพิเศษประกอบด้วยขนยาว, ผ้า สักหลาดขนยาว, พรม, กุ สทฺเท, ยุ, สกตฺเถ โก, อุสฺโสตฺตํ. ฎีกาอภิฯ ทีเฆน โลเมน ยุตฺโต อาสนปฺปเภโท โคนโก นาม.
  50. จมฺปา : (อิต.) จัมปา ชื่อนครพิเศษของอินเดีย โบราณ วิ. จมนฺติ เอตฺถาติ จมฺปา จมุ อทเน, โป.
  51. [1-50] | 51-90

(0.0223 sec)