ปริผนฺทติ : ก. ดิ้นรน, สั่นสะเทือน, เต้น
ลงฺฆติ : ก. กระโดด, เต้น
ลงฺเฆติ : ก. กระโดด, เต้น
วิธาวติ : ก. วิ่ง
นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
ชวติ : ก. วิ่ง, แล่น, รีบเร่ง, รีบร้อน
ธาวติ : ก. วิ่ง, วิ่งหนี, วิ่งเร็ว; ล้าง, ชำระ
กุตูหล : ป., นป. ความโกลาหล, ความแตกตื่น, ความตื่นเต้น
คตฺตวินาม : (ปุ.) การน้อมไปซึ่งกาย, การน้อมกายไปต่างๆ, การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ.
โฆฏก : (ปุ.) ม้ากระจอก, ม้าวิ่งไม่เรียบ. ฆุฏฺ ปฏิฆาเต, ณวุ.
ชวาธิก : (ปุ.) ม้าวิ่งเร็ว, ฯลฯ วิ. ชเวน สพฺเพส มธิโก (อสฺโก) ชวาธิโก.
ธาวก : (ปุ.) คนผู้วิ่งไป, ฯลฯ, การวิ่งไป. ธาวุ คติยํ, การชำระ การล้าง, ธุ โสธเน, โณ, สกตฺเถ โก.
ธาวน : (นปุ.) การวิ่งไป, การแล่นไป, ความเจริญ, ธาวุ คติวุฑฺฒีสุ, ยุ.
ธาวี : ค. ผู้วิ่ง
นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
นจฺจน : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อนรำ. นตฺ คตฺตวิมาเน, ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน.
นฎ นฎก นฏฏ นฏฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, ลิเก, ตัวลิเก, ตัวละคร. นฏฺ นตฺยํ. ศัพท์ที่ ๑, ๓ อ ปัจ. ศัพท์ ที่ ๒, ๔ ณฺวุ ปัจ. ศัพทืที่ ๓, ๔ แปลง ฏ เป็น ฏฺฏ. ส. นฎ, นรฺตก.
นาฏ นาฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, คนฟ้อน, คนฟ้อนรำ, ตัวละคร. ส. นาฏก.
นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
ปฏิธาวติ : ก. วิ่งกลับไปหา, วิ่งเข้าไปใกล้
ปฏิสกฺกติ : ก. วิ่งกลับ, ถอยหลัง
ปฏิสรติ : ก. แล่นกลับ, วิ่งกลับ, ถอยหลัง, ล้าหลัง; หวนระลึก, กลับคิดถึง, กล่าว
ปธาวติ : ก. วิ่งออกไป, วิ่งไปข้างหน้า, วิ่งถลันเข้าไปหา
ปธาวน : นป. การวิ่งออก, การวิ่งไปหา
ปธาวี : ค. ซึ่งวิ่งออกไป, ซึ่งวิ่งไปหา, ซึ่งถลันเข้าไป
ปพฺภมติ : ก. ท่องเที่ยวไปมา, วิ่งไปมา
ปริธาวติ : ก. วิ่งไปรอบ
ปุเรชา : ค. วิ่งไปข้างหน้า
ผนฺทติ : ก. ดิ้นรน, สั่นสะเทือน, หวั่นไหว, ตื่นเต้น
ผนฺทน : (วิ.) ไหว, สั่น, เคลื่อน, เต้นตุบๆ, เขม่น, โยกโคลง. ผทิ กิญฺจิจลเน, ยุ.
รชนีย : ค. ซึ่งล่อใจ, เร้าใจให้ตื่นเต้น
ลงฺฆน : นป. การกระโดด, การเต้น
ลงฺฆี : ป. ผู้กระโดด, ผู้เต้น; ธรณีประตู
วิธาวน : นป. การวิ่ง
วิโลฬน : นป. การตื่นเต้น, การยุ่งยาก, การกวน
วิโลเฬติ : ก. ตื่นเต้น, กวน
สงฺโขภ : ป. ความตื่นเต้นโกลาหล, ความกำเริบ
สงฺโขเภติ : ก. ตื่นเต้น, กำเริบ
สนฺธาวติ : ก. วิ่งไป
สวิคฺค : กิต. สลดใจแล้ว, ตื่นเต้นแล้ว
เสรุส : (ปุ.) กระจับ ชื่อเครื่องผูกตีนม้าสำหรับหัดให้เต้น สะบัดตีน. สรฺ จินฺตายํ, อูโส, อสฺเส.
อติธาวติ : ค. วิ่งเร็วยิ่ง
อติธาวน : (นปุ.) การเล่นเลยไป, การวิ่งเลยไป.
อนุชวติ : ก. วิ่งตาม, ติดตาม
อนุธาวติ : ก. วิ่งตาม, วิ่งไล่
อนุธาวี : ค. ผู้ไล่ตาม, ผู้วิ่งตาม
อนุปกฺขนฺทติ : ก. วิ่งตรงเข้าไปหา, ล่วงเกิน, แทรกแซง
อนุปขชฺช : กิต. วิ่งเข้าไปหา, แทรกแซง, บุกรุก
อนุปริธาวติ : ก. วิ่งไปมารอบๆ
อนุรุชฺฌติ : ก. ยินดี, พอใจ, ปลื้มใจ, ตื่นเต้น