Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ว่า , then พ่า, ว่, ว่ะ, วา, ว่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ว่า, 1903 found, display 1-50
  1. วา : อ. หรือ; หรือว่า
  2. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  3. โคตฺตภู โคตฺรภู : (ปุ.) ธรรมอันครอบงำ โคตร ปุถุชนยังโคตรอริยะให้เกิด, ธรรม ( คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ ) อันยังเชื้อชาติแห่ง มหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่งโลกุตตระให้ เจริญ วิ. มหคฺคตสฺส โลกุตฺตรสฺส วา โคตฺตํ ภาเวติ วุฑฺเฒตีติโคตฺตภู โคตฺรภู วา รูปฯ ๑๙๙ ว่า โคตฺตภู โคตฺรภู เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ ได้ แปลว่า จิตอัน ครอบงำ โคตรปุถุชน ยังโคตรอริยะให้เกิด, จิตอัน ยังเชื้อชาติแห่งมหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่ง โลกุตตระให้เกิด, ชวนจิตอันยัง...ให้เกิด.
  4. เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
  5. ชนฺตุ : (ปุ.) สัตว์, สัตว์เกิด. วิ. ชายตีติ ชนฺตุ. ชนียเต กมฺมกิเลเสหีติ วา ชนฺตุ. ชายติ วา กมฺมกิเลเสหีติ ชนฺตุ. อรรถกถากุลาวก ชาดก ว่า ชนฺตูติ สตฺโต แปลว่า บุคคล คนดังคำในมหาฎีกามหาสุตตโสมชาดก ว่า ชนฺตูติ ปุคฺคโล.
  6. เทว : (ปุ.) เทวะ ชื่อของเทพทั้ง ๓ คือ อุปัตติ เทพ วิสุทธิเทพ และ สมมุติเทพ, เทพ, เทพเจ้า, เทพยะ, เทพยดา, เทพบุตร, เทวดา. วิ. ทิพฺพนติ ปญฺจกามคุณาทีหิ กีฬนฺตีติเทวา. ทิวุ กีฬายํ, โณ. วิ. นี้เฉพาะ อุปัตติเทพ และสมมุติเทพ. เทวะที่หมาย ถึงวิสุทธิเทพ มี วิ. ว่า โลกุตฺตรธมฺเม โลกุตฺตรธมฺเมหิ วา ทิพฺพนฺติ เทโว (ผู้บรรลุโลกุตตรธรรม หรือผู้รุ่งเรืองด้วย โลกุตตรธรรม). ทิวุ คติยํ ชุติยํ วา, โณ.
  7. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  8. ปถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ถนน, คลอง, แถว, แนว, ถิ่น. วิ. ปถติ เอตฺถาติ ปโถ. ปถติ อเน นาติ วา ปโถ. อุปฺปนฺนกิจฺจากิจฺเจหิชเนหิ ปถียตีติ วา ปโถ. ปถฺ คติยํ, อ. ถ้ามาคู่กับ อุปถ อุปฺปถ ทางผิด แปล ปถ ว่า ทางถูก.
  9. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  10. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  11. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  12. กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
  13. กรปาลิกา : (อิต.) กรปาลิกา ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน (เครื่องป้องกันศัตรา). วิ. กรํ ปาลย ตีติ กรปาลิกา. ณฺวุ ปัจ. อิ อาคม อาอิต. ส. กรปาลิกา ว่า คทา กระบี่.
  14. กาลกิริยา : (อิต.) การทำซึ่งความตาย, ความตาย, วิ. กาโล อตีตาทิ, ตสฺส กิริยา กาลกิริยา. ไทยใช้ กาลกิริยา เป็น กริยา ว่า ตาย.
  15. กุตฺตก : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์ (พอนาง ๑๖ คนฟ้อนรำได้), ที่เป็นที่ฟ้อน. วิ. กโรนฺติ เอตฺถ นจฺจนฺติ กุตฺตกํ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ ก สกัด. อภิฯ ว่า แปลง อ ที่ ก เป็น อุ แปลง รฺ เป็น ตฺ.
  16. กุลทูสกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของภิกษุผู้ประ- ทุษร้ายตระกูล มี วิ. ดังนี้. ทุ. ตัป. กุลสฺส ทูสโก กุลทูสโก (ภิกฺขุ). วิเสสนบุพ. กัม. กุลทูสกภิกฺขุโน กมฺมํ กุลทูสกกมฺมํ. แปล ว่า การกระทำของบุคคลผู้ประทุษร้าย ตระกูลบ้าง.
  17. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  18. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  19. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  20. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  21. จีวรวส จีวรรชฺชุ : (ปุ.) ราวจีวร, สายระเดียง (ราวสำหรับตากผ้า แขวนผ้า ของพระ ใช้ หวายเป็นดี เพราะไม่เป็นสนิม) ถ้าศัพท์ทั้ง สองนี้มาคู่กัน แปล จีวรวํส ว่า ราวจีวร แปล จีวรรชฺชุ ว่า สายระเดียงจีวร.
  22. ชยสุมน : (นปุ.) ชยสุมนะ ชื่อของต้นไม้ที่มี ดอกสีแดง เช่น หงอนไก่ ชบา, ดอกชบา, ดอกชัยพฤกษ์ และดอกคำ, ดอกชัยพฤกษ์ (แปล สุมน ว่า ดอก).
  23. ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
  24. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  25. ติมิ : (ปุ.) ติมิ ชื่อปลาใหญ่, ปลาติมิ. วิ. ติมฺยตี ติ ติมิ. ติมุ อทฺทภาเว กํขายํ วา, อิ. ส. ติมิ ว่า ปลาวาฬ ปลาใหญ่ในนิยาย.
  26. ทยาลุ พยาลุก : (วิ.) ผู้มีความเอ็นดูเป็นปกติ วิ. ทยา อสฺส. ปกติ ทยาลุ. ผู้มีความอ็นดู มาก วิ. ทยา อสฺส พหุลา ทยาลุ. ผู้มี ความเอ็นดู วิ. ทยา กรุณา ยสฺสตฺถิ โส ทยาลุ. อาลุ ปัจ. พหุลตัท. ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๕๖๙ ว่า ลง กฺ อาคม. ส.ทยาลุ.
  27. เทวตานิ : (อิต. นปุ.) เทวดา. เทวตา เอว เทวตานิ. นิปัจ. สกัด. อภิฯ ว่า เทวตานิ ที่ เป็นปฐมา. เป็น อติ. ที่เป็น ทุติยา. เป็น อิต. และนปุ. อีกนัยหนึ่ง เทวตานิ ที่เป็น ปฐมาและทุติยา ว่าเป็น อิต. นั้น เพราะ แปลง โย วิภัตติเป็น นิ. อมรโกส ว่าเป็น ปุ. นปุ.
  28. นมสฺสการ : (ปุ.) การทำซึ่งการนอบน้อม, ฯลฯ, นมัสการ. คำนมัสการใช้ในความหมาย ว่า ไหว้ เป็นส่วนมาก. ส. นมสฺการ.
  29. นมุจิ : (ปุ.) นมุจิ ชื่อมารชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, มาร. วิ. อกุสลธมฺเม น. มุญฺจตีติ นมุจิ (ไม่ละ อกุศลธรรม). นปุพฺโพ, มุจ โมจเน, อิ. ส. นมุจิ ว่า กามเทพ.
  30. นาฬิก : (ปุ.) แปลเหมือน นาลิ. นาฬิ. ส. นาฑิกา ว่า นาฬิกา ชื่อสิ่งที่บอก เวลา ทุ่ม โมง.
  31. นาฬิกา : (อิต.) แปลเหมือน นาลิ. นาฬิ. ส. นาฑิกา ว่า นาฬิกา ชื่อสิ่งที่บอก เวลา ทุ่ม โมง.
  32. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  33. ปริโต : (อัพ. นิบาต) โดย...ทั้งปวง, แต่...ทั้ง ปวง, ใน...ทั้งปวง, โดยรอบ. ปริ+โต ปัจ. รูปฯ ๒๘๒ ว่า โต ปัจ. ลงในอรรถ ตติยา ปัญจมี และ สัตตมี.
  34. สมณโวหาร : (ปุ.) โวหารของสมณะ, โวหารอันควรแก่สมณะ, สมณโวหาร คือคำที่สำหรับใช้กับสมณะนั้นมีอีกประเภทหนึ่ง เช่นรับประทานข้าว ว่า ฉันจังหัน นอน ว่า จำวัด เป็นต้น
  35. สมฺมน : (วิ.) มีใจร่วม, มีใจร่วมกัน, มีใจรวมกัน. ไทย สัมมนา ว่า การประชุมเพื่อปรึกษาหารือกันในดำเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่ง.
  36. สมฺมปปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาโดยชอบ. เป็นภินนาธิกรณพหุพ. ผู้มีปัญญาชอบ. เป็น ฉ. พหุพ. แปล สมฺมา เป็นวิเสสนะของปญฺญา ว่า “ชอบ”.
  37. เสเลยฺยก : (วิ.) เกิดในศิลา, มีในศิลา, อยู่ในศิลา. สิลา+ชาต, ภว. วุตฺถ+เณยฺย ปัจ. ก สกัด รูปฯ ๓๖๒ ว่า ลง ก อาคม.
  38. อคฺคิ อคฺคินิ : (ปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, อคนิ, อัคนิ, อัคนี. อคฺค กุฏิลคติยํ, อิ. อคฺคิ เติมนิ เป็น อคฺคินิ คงจะเลียนสันสกฤต, กัจฯ๙๕ และรูปฯ ๑๔๕ ว่า อคฺคิ ลง สิ วิภัติแปลง อิ ที่ คิ เป็น อินิ ลบ. สิ. เป็น อกินีก็มี. ส. อคฺนิ, อทฺมนิ.
  39. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  40. อนิจฺจกมฺม : (นปุ.) กรรมคือความไม่เที่ยง, ฯลฯ.ไทยอนิจกรรม ว่า ตายความตาย.
  41. อยฺยกา อยฺยกี อยฺยิกา อยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยาย รูปฯ ๑๘๙ ว่า อยฺยก ศัพท์เป็นต้น เมื่อลง อี ปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอา อ ที่สุด ของศัพท์เป็น อาน.
  42. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  43. อุลิส : (ปุ.) แตงโม. ภาษาเขมร อุลิต ว่า แตงโม. อุ
  44. อุสภ : (วิ.) องอาจ, เจริญ, ยิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, ผู้ เป็นคำ วิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศชาย ที่ใช้คู่กับคำ ว่า เมีย ซึ่งเป็นคำวิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศ หญิง. ส. ฤสภ.
  45. เอกมนฺต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, ด้วย แท้, รูปฯ เป็นนิบาตลงในอรรภสัตมี แปล ว่า ในที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ในที่แห่งหนึ่ง, ณ ที่แห่งหนึ่ง.
  46. เอกลกฺขณ : (นปุ.) เครื่องหมายว่าเป็นหนึ่ง, ลักษณะว่าเป็นหนึ่ง. เอก + อิติ + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันเป็น หนึ่ง, ลักษณะอันเป็นเอก. เอก + ลักฺขณ. เครื่องหมายแห่งความเป็นหนึ่ง, เครื่องหมายแห่ง ความเป็นเอก, ลักษณะแห่ง ความเป็นหนึ่ง, ลักษณะแห่งความเป็น เอก. เอกภาว + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะ อันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันแสดงถึง ความเป็นเอก, ลักษณะที่แสดงความเป็น เอก (ของสิ่งนั้น ๆ). เอกภาว + เทสน + ลกฺขณ. ลบศัพท์ในท่ามกลาง. ส. เอก ลกฺษณ. ไทยใช้ เอกลักษณ์ ตามสันสกฤต ออกเสียงว่า เอกกะลักษณ์ ในความหมาย ว่า ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน.
  47. เอลก เอฬก : (ปุ.) ธรณีประตู, แกะ, แพะ. อลฺ คติยํ, ณฺวุ. ถ้ามาคู่กับ อช แปล เอลก ว่า แกะ. ส. เอฬก แกะ, แพะ.
  48. เอหิภิกฺขุ : (ปุ.) เอหิภิกขุ คำเรียกภิกษุผู้ได้รับ อุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยพระดำรัส ว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด ถ้าผู้อุปสมบทยังไม่ บรรลุพระอรหัต จะตรัสเพิ่มอีกว่า จงทำที่ สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
  49. กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
  50. กุมฺม กุมฺมก : (ปุ.) เต่า, เต่าตัวผู้. วิ กุจฺฉิโต อูมิเวโค อสฺสาติ กุมฺโม. ณ ปัจ. ตทัส สัตถิตัท. ลบ จฺฉิต อู และ อิที่มิ เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ม ซ้อน มฺ. กโรตีติ วา กุมฺโม. กรฺ กรเณ, รมฺโม. แปลง กรฺ เป็น กุ. กุรตีติ วา กุมฺโม. กุรฺ สทฺเท, รมฺโม. แปลว่า เต่าเหลือง เต้าน้ำ กระบอกน้ำ หม้อ หม้อน้ำ ก็มี.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1903

(0.1517 sec)