ว : อ. เทียว, แล
วจนกฺขม : ค. ผู้ใคร่อยากทำตามคำกล่าวของคนอื่น
วจนกร : ค. ผู้เชื่อฟังคำ
วจนตฺถ : ป. ความหมายแห่งถ้อยคำ
วจนปถ : ป. วิธีการพูด
วจนีย : ค. ควรกล่าว
วเทติ : ก. กล่าว
วปติ : ก. หว่าน
วภาต : กิต. สว่างแล้ว
วมติ : ก. คาย, ปล่อยออก
วยกลฺยาณ : นป. วัยงาม
วยมฺห : ป. วิมาน, ฟ้า, เมืองสวรรค์
วโยวุทฺธ : ค. ผู้เจริญวัย
วรงฺค : ป. อวัยะสำคัญ คือ หัว
วรงฺคนา : อิต. หญิงมีชื่อเสียง
วราก : ๑. นป. ตุ่ม, ไห;
๒. ค. น่าสงสาร
วราห : ป. หมู
วราโหรา : อิต. หญิงผู้ดี
วลิก : ค. มีรอยย่น
วลิต : กิต. ย่นแล้ว, เหี่ยวแล้ว
วลิตฺตจ, วลิน : ค. มีหนังหดเหี่ยว
วลิร : ค., ป. คนตาเหล่
วส : ป. วงศ์, ไม้ไผ่, ขลุ่ย
วสกฬีร : ป. แขนงไผ่
วสงฺคต : ค .ผู้ตกอยู่ในอำนาจ
วสช : ค. ผู้เกิดในวงศ์ตระกูล
วสนฺต : ป. ฤดูฝน, ฤดูใบไม้ผลิ
วสวณฺณ : ป. แก้วไพฑรูย์, เพชรตาแมว
วสานุปาลก : ค. ผู้รักษาตามซึ่งวงศ์
วสิก : ค. มีวงศ์ตระกูล
เกสว : (วิ.) มีผม (ผมดก) วิ. เกสา อสฺส อตฺถีติ เกสโว. ว ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รูปฯ ๓๘๒. ส.เกศว.
มิคว : (ปุ.) ตนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. วิ. มิเคหนฺตีติ มิคโว. มิคปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, อ. แปลง หน เป็น ว. มิเค วนตีติ มิคโว. วนฺ พาธเน, กวิ. ลบที่สุดธาตุ.
โอวทน โอโวทน : (นปุ.) การกล่าวสอน, การสั่งสอน, การสอน,การแนะนำสั่งสอน, คำกล่าวสอน, คำสั่งสอน, คำแนะนำ, คำ แนะนำสั่งสอน, คำตักเตือน. อวปุพฺโพ, วทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ยุ. คำหลัง แปลง อ ที่ ว เป็น โอ.
ทฺวารวตี : (อิต.) ทวาราวดี ชื่อเมือง. ไตร. ๓๒/ ๒๙๕ เป็น ทวารวตี
นิวสน : (นปุ.) การนุ่ง, การห่ม, การนุ่งห่ม. นิปุพฺโพ, วสฺ อจฺฉาทเน, ยุ. ส. นิวสน.
พนฺธชีว พนฺธชีวก : (ปุ.) ชบา. พนฺธุ เอว ชีวโก พนฺธุชีวโก.
อจิรวตี : (อิต.) อจิรวดีชื่อแม่น้ำสายหนึ่งในห้าสายของอินเดียวิ. อจิรํสีฆํคมนเมติสฺ มตฺถีติ อจิรวตี.วนฺตุ ปัจ. อี อิต. แม่น้ำอีก ๔ สาย คือ คงคา มหี ยมุนา และ สรภู.
อธิวจน : (นปุ.) คำเครื่องกล่าวทับ, ชื่อเครื่องกล่าวยิ่ง, คำเรียก, คำร้องเรียก, นาม, ชื่อ.วิ.อธีนํวจนํอธิวจนํ.ส.อธิวจน.
อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
อมรวตี อมราวตี : (อิต.) อมรวดี อมราวดี ชื่อ เมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง. วิ. อมรา เอกทิวสํ สนฺตีติ อมรวตี. สา เอว อมราวตี. รสฺสสฺส ทีฆตา (ทีฆะรัสสะ เป็น อา).
กามวสิก : ค. ผู้ตกอยู่ในอำนาจกาม
กามาสว : ป. กามาสวะ, อาสวะคือกาม, กามมีอาการหมักหมมดุจน้ำดอง
กุลว : ป. เรือนคลัง, โรงเก็บของ
กุลวส : นป. วงศ์แห่งตระกูล, ตระกูลวงศ์
กูลวตี : (อิต.) แม่น้ำ.
คุณวตี คุณวนฺตี : (วิ.) (หญิง.) ผู้มีความดี. ศัพท์แรกแปลง นฺตุ เป็น ต อีอิต.
จีวรวส : ป. ราวไม้ไผ่สำหรับตากจีวร, ราวจีวร, ไม้ระเดียง
จีวรวส จีวรรชฺชุ : (ปุ.) ราวจีวร, สายระเดียง (ราวสำหรับตากผ้า แขวนผ้า ของพระ ใช้ หวายเป็นดี เพราะไม่เป็นสนิม) ถ้าศัพท์ทั้ง สองนี้มาคู่กัน แปล จีวรวํส ว่า ราวจีวร แปล จีวรรชฺชุ ว่า สายระเดียงจีวร.
ติณว : (ปุ.) มโหระทึก ชื่อกลองโลหะชนิดหนึ่ง ของชนชาติที่อยู่ตอนใต้ของประเทศจีน. ตนุ วิตฺถาเร, อโว, ณตฺตํ, อสฺส อิตฺตํ.
เตปิฏกพุทธวจนสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิต นับพร้อมแล้วว่าพระดำรัสของพระพุทธเจ้า คือหมวดแห่งปีฏกสาม.