Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ศกฺ , then ศก, ศกฺ, สกฺ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ศกฺ, 36 found, display 1-36
  1. สกฺกาย : ป. กายของตน
  2. สกฺกายทิฏฺฐิ : อิต. ความยึดถือว่ากายของตน
  3. สกฺการ : ป. การเคารพนับถือ, เครื่องบูชา
  4. สกฺกุณาติ, สกฺโกติ : ก. อาจ, สามารถ
  5. สกฺยมุนิ : ป. พระพุทธเจ้า
  6. อีสกฺกร : (วิ.) อันเขาทำหน่อยหนึ่ง วิ. อีสํ กรียเตติ อีสกฺกรํ. อีสํปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โข, นิคฺคหิตโลโป.
  7. กตสกฺการสมฺมาน : (วิ.) ผู้มีสักการะและ สัมมานอันบุคคลทำแล้ว.
  8. กูฏสกฺขิก : (ปุ.) พยานเท็จ.
  9. โทสกฺขาน : นป. การกล่าวโทษ, การติเตียน
  10. ปจฺโจสกฺกน : นป. การล่าถอย, การถอยกลับ, การถอยออกมา, การหด
  11. ปริสกฺกน : นป. ความพยายาม, ความตะเกียกตะกาย, ความทดลอง
  12. พิฬารนิสฺสกฺกน (มตฺต) : ค. (ที่มีประมาณ) พอแมวลอดได้
  13. หตลาภสกฺการ : (วิ.) มีลาภและสักการะเสื่อมแล้ว.
  14. อนุปริสกฺกน : นป. การเวียนรอบ, การตะเกียกตะกาย; ความพยายาม
  15. อโนสกฺกนา : อิต. ความไม่ท้อถอย
  16. อปสกฺกน : นป. การหลีกไป, การหลบไป
  17. อภิสกฺการ : ป. สักการะยิ่ง, การบูชายิ่ง
  18. โอสกฺกน : (นปุ.) ความท้อถอย, ความท้อแท้, ความอ่อนแอ, ความถอยหลัง. โอปุพฺโพ, สกฺกฺ คติยํ, ยุ.
  19. โอสกฺกนา : กิต. การถอยกลับ, การดึงกลับ, การล้าหลัง
  20. ฉก : (นปุ.) ขี้, คูถ, สกฺ สตฺติยํ, อ, สสฺส, โฉ.
  21. มิคสก : (ปุ.) หมา วิ. มิคํ สกตีติ มิคสโก (ผู้สามารถจับหรือฆ่าเนื้อ), สกฺ สตฺติยํ, อ.
  22. ตาปส : (ปุ.) บรรพชิตผู้มีธรรมเครื่องยัง กิเลสให้เร่าร้อน ( ย่างกิเลสให้แห้ง ). ตปฺ สนฺตาเป, โณ. ลง สฺ และ อ อาคม หรือ ลง สกฺ ปัจ. ทีฆะ ลบ กฺ ส. ตาปส.
  23. สาก : (ปุ.) เจ้าศากยะ, ต้นสัก. สกฺ สามตฺถิยํ, โณ.
  24. สิกฺกา : (อิต.) สาแหรก วิ. กาเช อวลมฺพนํ เวตฺตาทีวิกติ สิกฺกา นาม. สกฺ สตฺติยํ, โก, อสฺส อิ.
  25. กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
  26. ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
  27. จห : (ปุ.) ความตระเกียกตระกาย, ความพยา ยาม, ความสรรเสริญ. จหฺ ปริสกฺกนปริก- ตฺถเนสุ, อ.
  28. ธมฺมวินย : (ปุ.) ธรรมและวินัย, พระธรรมและพระวินัย, พระธรรมวินัย. วิ. ธมฺมโม จ วินโย จ ธมฺมวินโย. ส. ทิคุ. บทปลงไม่เป็น ธมฺมวินยํ หรือ ธมฺมวินยา เป็นลักษณะพิเสษของศัพทฺเหมือน ลาภสกฺกาโร.
  29. นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
  30. มูค : (ปุ.) คนใบ้ วิ. วตฺตุ สกฺกุเณยฺยตฺตา มิคสทิโสติ มูโค. แปลง อิ ที่ มิค เป็น อู ฎีกาอภิฯ.
  31. สหสฺสกฺข : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, เทวดาผู้เห็นซึ่งนัยพันหนึ่ง, สหัสสักขะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สหสฺสานิ อกฺขีนิ ยสฺส โส สหสฺสกฺโย. สหสฺสสฺส พหุนฺนํ เทวมนุสฺสานํ จินฺติตตฺถสฺส ทสฺสนสมตฺถตาย สหสฺสกฺโข. สหสฺสํ วา อตฺถํ มุหุตฺเตน จินฺเตสิ ตฺสฺมา สหสฺสกฺโขติ วุจฺจติ. แปลง อกฺขิ เป็น อกฺข.
  32. อกฺกา : (อิต.) แม่, มารดา (ลูกบูชา).อจฺจฺปูชายํ, อโณ, จฺจสฺสกฺโก, อิตฺถิยํ อา.ส. อกฺกา.
  33. อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
  34. อหิ : (ปุ.) งู. วิ. นิปฺปาโทปิสมาโนอํหติคนฺตุสกฺโกตีติอหิ.อํหฺคติยํ, อิ. ส. อหิ.
  35. อากาส : (ปุ.) ช่องว่าง, ช่องว่างมีในกาย, กลางหาว, อากาศ, ฟ้า (ไถไม่ได้ ไม่อาจไถ เขียนไม่ได้), วิ. นกสฺสตีติอากาโส.กสิตุวิเลขิตุนสกฺโกตีติอตฺโถ.ภูสํกาสนฺเตทิปฺ-ปนฺเตปทตฺถาเอเตนาติวาอากาโส.อา-ปุพฺโพ, กสฺวิเลขเน, โณ.ส.อากาศ.
  36. อุปวาท : (ปุ.) การเข้าไปว่าร้าย, การกล่าว โทษ. วิ. โทสกฺขาเณน วทนํ อุปวาโท. อุปปุพฺโพ, วทฺ วจเน, โณ.
  37. [1-36]

(0.0113 sec)