อาสนสาลา : (อิต.) ศาลาเป็นที่นั่ง, ศาลา สำหรับนั่ง, โรงฉัน, หอฉัน.
สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
กฐินตฺถาร : ป. การกรานกฐิน, การขึงไม้สะดึง คือเอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรขึงที่ไม้สะดึงและทำจีวรให้สำเร็จ, การทำจีวรให้สำเร็จด้วยประการนั้นเรียกว่าการกรานกฐิน
กุตูหลสาลา : อิต. ศาลาพักผ่อน, โรงหย่อนใจ, ศาลาสาธารณะ
โกตูหลสาลา : (อิต.) ศาลาสาธารณะ.
จตุสาลา : (อิต.) ศาลามีหน้าสี่, ศาลามีมุขสี่, ศลาสี่หน้าศาลาสี่มุข. จตุมุข+สาลา ลบ มุข.
จิตฺตสาลา : อิต. ศาลาอันวิจิตร, ศาลาที่มีภาพเขียนสวยงาม, โรงแสดงภาพ
ทฺวารสาลา : อิต. ศาลามีประตู
ธมฺมสาลา : (อิต.) ศาลาเป็นที่แสดงซึ่งธรรม, ศาลาการเปรียญ.
นาฏยสาลา : (อิต.) โรงละคร. ส. นาฏยศาลา.
ปฏิกฺกมนสาลา : อิต. ศาลาเป็นที่หลบหลีก, ศาลาเป็นที่พักผ่อน
ปณฺณสาลา : อิต. บรรณศาลา, ศาลาที่มุงบังด้วยใบไม้, อาศรม
ปิฏฺฐิปณฺณสาลา : อิต. ด้านหลังของบรรณศาลา
โภชนาสาลา : (อิต.) ศาลาแห่งโภชนะ, หอฉัน.
สิปฺปุสาลา : (อิต.) ศาลาทำการของนักศิลป์ วิ. สปฺปีนํ กมฺมสาลา สปฺปิสาลา. เป็น สปฺปสาลา ก็มี.
สีหนาท : (ปุ.) อันบันลือเพียงดังว่าอันบันลือแห่งราชสีห์, การบันลือเพียงดังว่าการบันลือแห่งราชสีห์, การเปล่งเสียงองอาจ, การพูดอย่างองอาจ.
อกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลหามิได้, ไม่ประกอบด้วยกาล, ให้ผลมิได้เลือกซึ่งกาล, ให้ผลไม่เลือกเวลา, ให้ผลตลอดเวลา, ให้ผลทุกเวลา. เป็นคุณบทของพระธรรมบทที่ ๓ ใน ๖ บทพระพุทธศาสนาสอนว่าการทำความดีหรือความชั่วไม่เกี่ยวกับฤกษ์ยามทำเวลาไหนได้ผลทั้งสิ้น จะเป็นผลดีหรือชั่วแล้วแต่การทำ
อทฺธิกสาลก : (อิต.) ศาลาสำหรับคนเดินทาง, โรงแรม.
อาทาน : (นปุ.) การถือ, การถือเอา, การฉวยเอาการคว้าเอา, การยึด, การยึดถือ, ความถือ, ฯลฯ.อาบทหน้าทาธาตุในความถือ ยึดถือยุปัจ.แปลว่าการขอก็มีอาทานํยาจนเมว.ส.อาทาน.
อาโรคฺยสาลา : (อิต.) โรงพยาบาล.ส. อาตุรศาลา
อาเวสน : (นปุ.) อาเวสนะ ที่ทำการของศิลปิน, ศาลาทำการของพวกศิลปฺ ทรวดทรง, เรือน. ยุ ปัจ.
อุชณฺฑ : (ปุ.) โรงยาว, โรงแถว, ศาลายาว,
อุปฏฐานสาลา : อิต. ศาลาเป็นที่บำรุง, หอฉัน, โรงฉัน