Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ศา , then , ศา, ษา, สา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ศา, 682 found, display 1-50
  1. สา : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย.
  2. สิสฺสานุสิสฺส : (ปุ.) ศิษย์และศิษย์น้อย, ศิษย์ใหญ่และศิษย์น้อย, ศิษยานุศิษย์, ไทยใช้เป็น ศานุศิษย์ ก็มี.
  3. สาขา : (อิต.) กิ่ง, กิ่งไม้, ก้าน, สิ่งย่อย, ส่วนย่อย, ห้วย. สาขฺ พฺยาปเน, อ. ส. ศาขา.
  4. อาชีวก : (ปุ.) อาชีวกชื่อนักบวชนอกพุทธศา-สนานิกายหนึ่ง.ส.อาชีวก.
  5. สายก : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกศร, กระบี่, ดาบ, พระขรรค์, สา ตนุกรณาวสาเนสุ. ณฺวุ. ส. สายก.
  6. จตุสาลา : (อิต.) ศาลามีหน้าสี่, ศาลามีมุขสี่, ศลาสี่หน้าศาลาสี่มุข. จตุมุข+สาลา ลบ มุข.
  7. สาติ : (อิต.) สาติ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๕ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๕ ดวง, ดาวช้างพัง. วิ. สาติ สุภาสุภนฺติ สาติ. สา ตนุกรเณ, ติ.
  8. สามา : (อิต.) ประยงค์ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลืองเป็นช่อมีกลิ่นหอมมาก. สา ตนุกรเณ, โม.
  9. สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
  10. สาวิตฺติ : (อิต.) สาวิตติศาสตร์, สาวิตรี (คำสดุดีพระอาทิตย์บทหนึ่งในฤคเวท). อถโข ติปทํ ติปาท เมว สิยา สา สาวิตฺติ นาม. สวิตุสฺส อิสิโน อยํ วาจา สาวิตฺติ. อิณฺ ปัจ.
  11. สากฎิก : (ปุ.) คนขับเกวียน. วิ. สกเฎน จรตีติ สากฎิโก.
  12. สากุณ : (วิ.) มีนก วิ. สกุณา ยสฺมึ สนิตีติ สากุโณ.
  13. สากุณิก : (ปุ.) บุคคลผู้ฆ่าซึ่งนกเป็นอยู่, พรานนก. วิ. สกุเณ หนฺตฺวา ชีวตีติ สากุณิโก. ณิก ปัจ.
  14. สาชีว : (นปุ.) สาชีพ (การเลี้ยงชีพ) คือ สิกขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้.
  15. สาตกุมฺภ : (นปุ.) สาตกุมภะ ชื่อทองต่างชนิดอย่างที่๒ ใน ๔ อย่าง. สตกุมฺภํ ปทุมเกสร วณฺณํ, ตพฺพณฺณสทิสตฺตา สาตกุมฺภํ.
  16. สาธน : (นปุ.) ความสำเร็จ, เครื่องอุปกรณ์ที่จะให้สำเร็จ, อุปกรณ์, การกล สาธนะ ชื่อของศัพท์อันท่านให้สำเร็จมาแต่รูปวิเคราะห์ ศัพท์ ที่ท่านให้สำเร็จมาแต่วิเคราะห์. วิ. กิริยํ สาเธตีติ สาธนํ. สาธฺ. สํสิทฺธิยํ, ยุ. ส. สาธน.
  17. สาพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกสุนัข. วิ. สานํ สุนขานํ พนฺธนำสาพนิธนํ.
  18. สามนฺติ : (วิ.) ใก้ล, เคียง, ใกล้เคียง, ชิต, รอบ ๆ. วิ. สํคตํ อนฺตํ สามนฺตํ. สํคต+อนฺต ลบ คต แปลง นิคคหิตเป็น ม ทีฆะ อ ที่ ส. ส. สามนฺต.
  19. สามิ : (อัพ. นิบาต) กึ่ง, ครึ่ง, น่าเกลียด, อันพึงเกลียด. ส. สามิ.
  20. สามิภคินี : (อิต.) พี่หญิงของผัว, น้องหญิงของผัว, พี่น้องหญิงของผัว. สามิ+ภคินี.
  21. สามิภาตุ : (ปุ.) พี่ชายของผัว, น้องชายของผัว, พี่น้องชายของผัว. สามิ+ภาตุ.
  22. สามิ สามี : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่. วิ. สํ ธนํ อสฺส อตฺถีติ สามิ สามี วา. อิปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ.
  23. สามุทฺท : (นปุ.) เกลือที่ได้จากพื้นที่ใกล้ทะเล. วิ. สมุทฺทภูมิยํ อวฎฺฐตํ ลฺทธํ สามุทฺทํ. ณ ปัจ.
  24. สารงฺค : (ปุ.) เนื้อ, เนื้อทราย, กวาง, จามจุรี. วิ. เสน สุเขน รงฺคติ ปลายตีติ สารงฺโค, สปุพฺโพ, รงฺคฺ คมเน, อ. ส. สารงฺคฺ.
  25. สารถิ : (ปุ.) คนบังคับม้า, คนผู้ยังมาให้ระลึก, วิ. สาเรตีติ สารถิ. สรฺ จินฺจายํ, ถิ. คนไปกับด้วยรถ, คนขับรถ, สารถี. วิ. รเถน สห สรตีติ สารถิ. อิณฺ ปัจ. สรฺ คติยํ วา, ถิ. ส. สารถิ.
  26. สาราณิยกร : (ปุ.) สาราณิยกร ชื่อบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษา มีหน้าที่อย่างบรรณธิการ.
  27. สาราณิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก, สาราณิยธรรม(ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึงกันและกัน).
  28. สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  29. สาลูก : (นปุ.) ไหล (รากของพืชบางอย่างซึ่งเลื้อยหรือชอนไปแตกเป็นหน่อ). เหง้า, เหง้าบัว. วิ. สลติ โภชนตฺต มฺปยาตีติ สาลูกํ. สลฺ คมเน, อุโก, ทีโฆ.
  30. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  31. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  32. สากฏิก : ป. ผู้ไปด้วยเกวียน
  33. สากมฎฺฐ : (ปุ.) ผักคราด, ตะไคร้.
  34. สากลฺย : (วิ.) เต็มที่, ครบ, สมบูรณ์, ครบสมบูรณ์.
  35. สากุณิก, สากุนฺติก : ป. พรานนก
  36. สากุย : (ปุ.) เจ้าศากยะ. ส. ศากฺย.
  37. สาเกต : นป. ชื่อเมือง
  38. สาขาภงฺค : ป. กิ่งไม้หัก
  39. สาคาร : ค. ผู้อยู่ในบ้าน
  40. สาจริยก : ค. ผู้ร่วมอาจารย์เดียวกัน
  41. สาตาวห : (วิ.) อันนำมาซึ่งความยินดี, ฯลฯ.
  42. สาติเรก : ค. มีมากกว่าหนึ่ง
  43. สาตุถ : (วิ.) เป็นไปกับด้วยอรรถ, พร้อมด้วยอรรถ, มีอรรถ, เป็นไปกับด้วยประโยชน์, ฯลฯ.
  44. สาทน : (นปุ.) ความหวาน, ฯลฯ, ความสุข. ยุ ปัจ.
  45. สาทูทก : (นปุ.) น้ำหวาน, น้ำอันบุคคลพึงใจ, ฯลฯ.
  46. สานิ : (วิ.) นี้แห่งตน, นี้ของตน.
  47. สานุวชฺช : ค. น่าติเตียน, ควรตามไปว่ากล่าว
  48. สาเปกฺข : (วิ.) เป็นไปด้วยการมองหา.
  49. สามนฺต : (นปุ.) ที่ใกล้, ที่ใกล้เคียง.
  50. สามนฺตา : (อัพ. นิบาต) รอบ, รอบคอบ, โดยรอบ. รูปฯ เป็น สตฺตมิยตฺถนิปาต.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-682

(0.0726 sec)