ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
ตล : (นปุ.) ชั้น, ชั้นล่าง,พื้น, ฝ่ามือ. วิ. ตลยติ เอตฺถ วตฺถุชาตนฺติ ตลํ. ตลฺ ปติฏฐายํ, อ.
นิเกต, นิเกตน : นป. อาคาร, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน
นิเกตุ : (ปุ.) การอยู่, การอาศัย, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, กิตฺ นิวาเส, โณ, ยุ. ส. นิเกต, นิเกตน.
นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
ปาทก : ๑. นป. ฐาน, พื้น;
๒. ค. มีฐาน, มีเท้า, มีพื้น
ปิฏฺฐ : นป. หลัง, ด้านหลัง; พื้น; แป้ง, ผง
ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
ภูม ภูมก : (ปุ.) ชั้น, ขอบเขต, พื้น, พื้นดิน, สถานที่.
ภูมิ : (อิต.) แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้น, พื้นดิน, พื้นเพ, ปัญญา, ภาคพื้น, ขอบเขต, แดน, ชั้น, ลำดับ. วิ. ภวนฺติ อสฺสํ ภูตานีติ ภูมิ. ที่เกิด วิ. ภวนฺติ เอตฺถาติ ภูมิ. ภู สตฺตายํ, มิ.
วสน : นป. การอยู่, ที่อยู่, บ้าน; เสื้อผ้า
สทน : นป. ที่อยู่, ที่กิน; บ้าน
อธิวาส : (ปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับ, การรับพร้อม, การอบ, การอบกลิ่นหอม, เครื่องอบ, ผ้า, ที่อยู่, บ้าน, เรือน.อธิปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, วาสฺอุปเสวายํวา, โณ.อธิวาส.
กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลียเต เอกาทินา สํขฺยายเตติ กลา. กลฺ สํขฺยาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ยว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.
เคห : (ปุ. นปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่, เหย้า (เรือน), ทับ (กระท่อม, บ้าน). อภิฯ วิ. คณฺหาติ ปุริเสนานีตธน มิติ เคหํ. กัจฯ ๖๒๙ วิ. ทพฺพสมฺภารํ คณฺหียติ คณฺหาตีติ วา เคหํ. รูปฯ ๕๕๓ วิ. คยฺหตีติ เคหํ. คหฺ คหเณ, อ, อสฺเส. ส. เคห คฤห.
สทุม : ป. บ้าน
สรณิ : (อิต.) ถนน, บ้าน. ส. สรณิ.
สวสถ : ป. บ้าน
สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
กรตล : (นปุ.) พื้นแห่งมือ. ฝ่ามือ. ส. กรตล.
กวจ : (วิ.) ด่าง (เป็นจุดผิดจากสีพื้นเดิม).
กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
กเสรุ : (ปุ.) กระจับ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ขึ้น ลอยอยู่ในน้ำ มีฝักเป็นสองเขาคล้ายศรีษะ ควาย เมื่อแก่มีสีดำ ตกอยู่ที่พื้นดิน เนื้อ ข้างในขาว มีรสมัน, วิ. เก สยตีติ กเสรุ. กปุพฺโพ, สี สเย, รุ.
การุ : (ปุ.) คนมีศิลปะ, ช่าง, นายช่าง. วิ. กโรติ นิมฺมินาติ จิตฺรเลปฺยาทิก มิติ การุ. กรฺ กรเณ, ณุ. ส. การู.
กุฑ กุฑก กุฑฺฑ : (นปุ.) ฝา, ฝาบ้าน, ฝาเรือน. กุฏฺ เฉทเน, อ, ฏสฺส โฑ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ฏ เป็น ฑฺฑ.
กุลเคห : นป. เรือนแห่งตระกูล, บ้านประจำตระกูล
กูปตล : นป. พื้นหลุม
คเณส : (ปุ.) พระคเณส พระคเณศ ชื่อเทพ องค์หนึ่งมีเศียรเป็นช้างเป็นเทพแห่งศิลปะ วิฆเนศ พิฆเนศ คเณศ พิฆเนศวร วิฆเนศวร ก็เรียก.
คมฺม : (วิ.) เป็นของชาวบ้าน, ของชาวบ้าน, คาม+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ ม เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ รวมเป็น คามฺย แปลง มฺย เป็น มฺม รัสสะ อา เป็น อ.
คหการ คหการก : (ปุ.) นายช่างผู้ทำเรือน, ช่าง ปลูกบ้าน.
คหปติ : ป. คหบดี, พ่อบ้าน, พ่อเรือน, ผู้ชายเป็นเจ้าของบ้าน
คหปติจีวร : (นปุ.) ผ้าอันคฤหบดีถวาย, ผ้าที่ ชาวบ้านถวาย.
คามก : (ปุ.) ประชุมแห่งบ้าน, หมู่บ้าน. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
คามเขตฺตทฺวิปทจตุปฺปทยานวาหน : (นปุ.) บ้านและนาและสัตว์มีเท้าสองและสัตว์ มีเท้าสี่และยานพาหนะเป็น อ. ทวัน. มี ฉ.ตุล. และ ฉ.ตุล. เป็ยภายใน. ศัพท ปท นั้นใช้ ปาท ก็ได้.
คามฆาต : ป. การทำลายบ้าน, การปล้นบ้าน
คามฆาตก : ค. ผู้ทำลายบ้าน, ผู้ปล้นบ้าน
คามชน : ป. ชนในบ้าน, ชาวบ้าน
คามเชฏฐ : ป. หัวหน้าบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน
คามเชฏฺฐก : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่ในหมู้บ้าน, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน, พ่อหลว(ผู้ใหญ่บ้าน)
คามฏฐาน : นป. ที่เคยตั้งบ้าน, บ้านเก่า, บ้านร้าง
คามณิ : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่งชาวบ้าน, คนผู้นำ ชาวบ้าน, หัวหน้า, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน. วิ. คามํ เนตีติ คามณิ. คามปุพฺโพ, นี นเย, อี, นสฺส ณตฺตํ, รสฺเส คามณิ (เป็น คามณิ เพราะรัสสะ อี เป็น อิ). อภิฯ ลง ณี ปัจ. เป็น คามนิ โดยไม่แปลง น บ้าง.
คามณิ, - ณี : ๑. ป. นายบ้าน, หัวหน้าบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน
๒. ค. หัวหน้า, ประเสริฐ, เลิศ, สูงสุด
คามตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวบ้าน.
คามทฺวาร : นป. ประตูใหญ่, ประตูบ้าน, ประตูเข้าบ้าน
คามธมฺม : (ปุ. นปุ.) เรื่องของชาวบ้าน, กิจของ ชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติ อยู่ในบ้าน, ความประพฤติของชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติอยู่ในบ้าน, เมถุน (การร่วมสังวาส). วิ. คามวาสีนํ ธมฺโม อาจาโร คามธมฺโม.
คามนฺต : ป. บ้าน, เขตบ้าน, แดนบ้าน, ที่ใกล้บ้าน
คามนฺตร : นป. บ้าน, ละแวกบ้าน, ระหว่างบ้าน
คามปูฏว : (ปุ.) ชาวบ้านผู้มีการทำให้บริสุทธิ์, ชาวบ้านผู้มีการชำระผิว, ชาวบ้านผู้ชอบ แต่งผิว. คาม+ปูฏว.