Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ศึกษาเล่าเรียน, เรียน, ศึกษา, เล่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ศึกษาเล่าเรียน, 122 found, display 1-50
  1. เสวน : (วิ.) เสพ, คบหา, รับใช้, ปฏิบัติ, ศึกษา, เล่าเรียน.
  2. อิต : (วิ.) ประกอบ, เล่าเรียน, ร่ำเรียน, อ่าน, ท่อง, ศึกษา. อิ อชฺฌายเน, โต.
  3. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  4. คหณ : นป. การยึด, การถือ, การศึกษา, การเล่าเรียน
  5. ธมฺมสมาทาน : นป. ธรรมสมาทาน, การสมาทานธรรม, การศึกษาเล่าเรียนธรรม
  6. สกฺขก : (ปุ.) คนผู้ศึกษา, คนผู้เล่าเรียน.
  7. สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  8. สิกฺขก : (วิ.) ผู้ศึกษา, ผู้เล่าเรียน. สิกฺข วิชฺโชปาทาเน, ณวุ.
  9. สิกฺขติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน
  10. สิกฺขน : (นปุ.) การศึกษา, การเล่าเรียน, ยุ ปัจ.
  11. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  12. อชฺฌยน : นป. การสาธยาย, การศึกษา, เล่าเรียน
  13. อชฺฌายติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน
  14. อธิยฺยติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน, สาธยาย
  15. อธิยีต : กิต. ศึกษาแล้ว, เล่าเรียนแล้ว
  16. อธียติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน, สาธยาย
  17. อนุสิกฺขติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน, เจริญรอยตาม
  18. อุคฺคณฺหาติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน, สำเหนียก, ถือเอา, เก็บเอา
  19. ธมฺมปริยตฺติ : อิต. ธรรมปริยัติ, การเรียนธรรม, การศึกษาธรรม
  20. ธมฺมปริยาย : (ปุ.) กระบวนของธรรม, ลำดับ ของธรรม, การเล่าเรียนธรรม, การสอนธรรม, นัยเป็นเครื่องยังคำสอนให้เป็นไปรอบ, การอธิบายตามความหมายของธรรม.
  21. ปริยตฺติ : อิต. การเล่าเรียน
  22. ปริยตฺติธมฺม : ป., นป. ธรรมที่ต้องเล่าเรียน
  23. ปริยาปุณาติ : ก. เล่าเรียน, ขวนขวาย
  24. ปริยาปุต : กิต. เล่าเรียนแล้ว, ขวนขวายแล้ว
  25. ปริยายกถา : อิต. การเล่าเรียน, การพูดอ้อมค้อม
  26. พหุสจฺจ : นป. ความเป็นผู้มีการศึกษามาก, ความเป็นผู้คงแก่เรียน
  27. อชฺฌยนอชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด.อธิ+อิ+ยุ ปัจ.แปลงอธิเป็น อชฺฌอิเป็น เอ เอเป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
  28. อชฺฌยน อชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด. อธิ+อิ+ยุ ปัจ. แปลง อธิ เป็น อชฺฌ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
  29. อชฺเฌน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การเรียน, การเล่าเรียน, การท่อง, การสวด, การศึกษา.อธิ+อ+ยุแปลงอธิเป็นอชฺฌอิเป็นเอยุเป็นอน.
  30. อธฺยาปน : (นปุ.) การเล่าเรียน, อธิปุพฺโพ, อาปฺพยฺาปเน, ยุ.แปลงอิเป็นย.
  31. อนุปาล : (ปุ.) การตามเลี้ยง, การตามรักษา, การตามระวัง, การคอยรักษา, การคอยระวัง.เรียกโรงเรียนที่รับเด็กก่อนเข้าเกณฑ์ประถมศึกษาว่าโรงเรียนอนุบาล เรียกเด็กที่เรียนว่าเด็กอนุบาล (เด็กที่ครูต้องคอยระวัง).
  32. อนุสิกฺขี : ค. ผู้เรียน, ผู้ศึกษา
  33. อาสิกฺขิต : กิต. สำเหนียกแล้ว, เล่าเรียนแล้ว
  34. อุคฺคณฺหณ, - น : นป. การเรียน, การศึกษา, การรับเอา
  35. อุคฺคณฺหาเปติ : ก. ให้เรียนเอา, ให้ศึกษา; แนะนำ, สั่งสอน
  36. อุคฺคณฺหิย, - หิตฺวา : กิต. เรียนแล้ว, ศึกษาแล้ว, รับเอาแล้ว
  37. อุคฺคยฺห : กิต. เรียนเอา, ศึกษาแล้ว, ถือเอาแล้ว
  38. อุคฺคห : (ปุ.) การเรียน, การเล่าเรียน, ความจดจำ. อุปุพฺโพ, คหฺ คหเณ อ, ยุ.
  39. อุคฺคหน อุคฺคณฺหน : (นปุ.) การเรียน, การเล่าเรียน, ความจดจำ. อุปุพฺโพ, คหฺ คหเณ อ, ยุ.
  40. อุคฺคเหตุ : ป. ผู้เรียน, ผู้ศึกษา
  41. อุคฺคาหก : ค. ผู้เรียน, ผู้ศึกษา
  42. คหณ คหน : (วิ.) จับ, ยึด, ถือ, ถือเอา, กุม, เรียน, ชิด, ชัฏ, รก, รกชัฏ, รกเรี้ยว (รกมาก), ฟั่นเฝือ.
  43. จรหิ : อ. ก็, แลหรือ, เล่า, อะไรเล่า
  44. ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
  45. กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
  46. กถามคฺค : ป. กถามรรค, การบอกเล่า, ประวัติ
  47. กิตฺติ : (วิ.) สรรเสริญ, ชม, เล่าลือ.
  48. กิมงฺค : (นปุ.) คำมีอะไรเป็นเหตุ, อะไรเป็น เหตุ. แปล องฺค ว่าเหตุ อ. กิมงฺคํ ปน ก็ อ. อะไรเป็นเหตุเล่า แปลโดยอรรถว่า จะป่วยกล่าวไปใย. กึ
  49. กึสุ : อ. แลหรือ, อย่างไร, อย่างไรเล่า
  50. โกญฺจ : (ปุ.) นกกระเรียน, หกกาเรียน. กุจฺ ตาเร, โณ, นิคฺคหิตาคโม.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-122

(0.0094 sec)