Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ษมา , then ษมา, สมา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ษมา, 74 found, display 1-50
  1. สมา : (อิต.) ปี วิ. สามยติ ภาเวตีติ สมา. สมฺ วิตกฺเก. อ. อิตฺถิยํ อา.
  2. ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  3. ขมน : (นปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  4. ขมา : (อิต.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  5. สมาช : (นปุ.) การประชุม, ที่เป็นที่ประชุม, ที่ประชุม, สมาคม. สํ อา ปุพฺโพ, อชฺ คติยํ, อ. ส. สมาช.
  6. สมาธาน : (นปุ.) การตั้งไว้เสมอกัน, การตั้งไว้โดยชอบ. วิ. สมํ สมฺมา วา อาธานํ สมาธานํ.
  7. สมากฑฺฒติ : ก. ฉุดคร่า
  8. สมากิณฺณ : กิต. มุงกัน, ประชุมกัน, เกลื่อนกลาด
  9. สมากุล : (วิ.) มัวพะวง. สห+อากุล ลบ หมฺ อาคม.
  10. สมาคจฺฉติ : ก. ประชุมกัน
  11. สมาจรณ : นป., สมาจาร ป. ความประพฤติชอบ
  12. สมาจรติ : ก. ประพฤติชอบ
  13. สมาทเปติ : ก. ชักชวน
  14. สมาทหติ : ก. ตั้งใจ
  15. สมานวาส : (วิ.) ผู้มีการอยู่ด้วยชนเสมอกัน.
  16. สมาเนติ : ก. นำมาเปรียบ
  17. สมาปชฺชติ : ก. ย่อมเข้าถึง
  18. สมาปชฺชน : นป. การเข้าถึง
  19. สมาปชฺชนา : (อิต.) การเข้า. สํ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  20. สมาปตฺติ : (อิต.) การถึงทั่วพร้อม, การบรรลุ, การถึง, การเข้า, สมาบัติ(การบรรลุฌาน การเข้าฌาน). สํ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ.
  21. สมาปน : (นปุ.) การชักชวนให้ถือเอาด้วยดี, การชักชวน, สํ อา ปุพฺโพ, ทยฺ อาทาเน, ยุ, ยสฺส โป.
  22. สมาปนฺน : กิต. เข้าถึงแล้ว
  23. สมาเปติ : ก. จบ, บริบรูณ์
  24. สมายาติ : ก. มาร่วมกัน, รวมกัน
  25. สมายิก : ค. เป็นไปตามสมัย, ชั่วคราว
  26. สมาโยค : ป. การประกอบ, การบำเพ็ญ
  27. สมารทฺธ : กิต. ปรารภแล้ว, เริ่มแล้ว
  28. สมารภติ : ก. ปรารภ, เริ่ม
  29. สมารมฺภ : ป. การลงมือทำ
  30. สมารูหติ : ก.ไต่, ปีน, ขึ้น
  31. สมารูหน : นป. การไต่, การปีน, การขึ้น
  32. สมารูฬฺห : กิต.ไต่แล้ว, ขึ้นแล้ว
  33. สมาโรปน : นป. การยกขึ้น
  34. สมาวหติ : ก. นำมา
  35. สมาเสติ : ก. ประชุม, ย่อ
  36. สมาหต : กิต. กระทบแล้ว, ฆ่าแล้ว
  37. สมาหาร : (ปุ.) การนำมารวม, การนำมารวมกัน, การรวบรวม. สํ อา ปุพฺโพ, หรฺ หรณ, โณ.
  38. สมาหิต : กิต. ตั้งมั่นแล้ว
  39. อสฺสมารก : (ปุ.) ต้นยี่โถ.วิ.อสฺเสมาเรตีติอสฺสมารโก.อสฺสปุพฺโพ, มรฺปาณจาเค, ณฺวุ.ต้นพุด ?
  40. กมฺมสมารมฺภ : ค. มีการเริ่มต้นในกรรม
  41. กาสมาริ : (อิต.) ผลหมากเม่า.
  42. จกฺกสมารูฬฺห : ค. ผู้ขึ้นแล้วสู่ล้อ, ผู้ขึ้นแล้วสู่ยาน, ผู้ขึ้นขี่รถแล้ว
  43. ทารุสมาทหาน : นป. การรวบรวมไม้, การเก็บไม้มารวมกัน, การเก็บฟืน
  44. นิโรธสมาปตฺติ : (อิต.) การเข้าสู่นิโรธ (เป็น วิธีพักผ่อนของท่านผู้ได้ฌาน.) นิโรธ ในคำนี้ได้แก่การดับสัญญาและเวทนา.
  45. ปาณสมา : อิต. ภรรยา, เมีย
  46. ผลสมาปตฺติ : (อิต.) สมาบัติอันประกอบพร้อมแล้วด้วยผล.
  47. สีมา : อิต. เขต, แดน
  48. สึมา : (อิต.) เขต, แดน, เขตแดน. วิ. สียเต สมคฺเคน สํเฆน กมฺมวาจาย พนฺธียเตติ สีมา. สึ พนฺธเน, โม, อิตฺถิยํ อา. รูปฯ ตั้ง สิ พนฺธเน. ทีฆะ อิ เป็น อี ส. สีมา.
  49. สุฏฐสมาหิต : (วิ.) ตั้งมั่นแล้วด้วยดี, มีจิตตั้งมั่นแล้วด้วยดี.
  50. สุสมารทฺธ : ค. เริ่มดีแล้ว, ปรารภดีแล้ว
  51. [1-50] | 51-74

(0.0203 sec)