Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ษัต , then ศัต, ษัต, สตฺ, สัต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ษัต, 142 found, display 1-50
  1. สตฺตก : นป. หมวดเจ็ด
  2. สตฺตกฺขตฺตุ : ก. วิ. เจ็ดครั้ง
  3. สตฺตติ : ค. เจ็ดสิบ
  4. สตฺตม : ค. ที่เจ็ด
  5. สตฺตลา : อิต. มะลิซ้อน
  6. สตฺตวงฺก : ป. กุ้ง
  7. สตฺตาห : นป. เจ็ดวัน
  8. สตฺติ : อิต. กำลัง, สามารถ, หอก
  9. สตฺติธร : ค. ผู้ทรงกำลัง
  10. สตฺติสูล : นป. ด้ามหอก
  11. สตฺตุ : ป. ข้าวตู, ศัตรู
  12. สตฺตุภสฺตา : อิต. ถุงข้าวตู
  13. สตฺถก : นป. มีดพับ
  14. สตฺถกมฺม : นป. การผ่าตัด
  15. สตฺถกวาต : ป. ลมจุกเสียด
  16. จตุสตฺตติ : ค. เจ็ดสิบสี่
  17. ยถาสตฺตึ : ก. วิ. ตามสติกำลังของตน
  18. อิสฺสตฺถก : (ปุ.) นายขมังธนู, นายพรานธนู (ผู้มีธนูเป็นประโยชน์).
  19. อสนฺติเก : สัต. ในที่ไม่ใกล้, ในที่มิใช่สำนัก
  20. เหตุเย : (ปุ.) เพื่ออันมี, เพื่ออันเป็น. หู สตฺ ตายํ, ตุ ํ หรือ เ ตฺว เป็น ตุเย อู เป็น เอ.
  21. กรภ : (ปุ.) กรภะ ชื่อมือด้านข้างข้อมือและ นิ้วก้อยที่เด็กทำดุจศัตราประหารกันและ กัน, ข้างมือ, สันมือ, อูฐ. กรฺ หึสายํ กรเณ วา, อโภ. ส. กรภ.
  22. กรมร : (ปุ.) ชนผู้จะพึงตายด้วยมือแห่งศัตรู วิ. สตฺตูนํ กเรน มริตพฺโพติ กรมโร. ชน ประหนึ่งว่าตายในมือ, เชลย, คนคุก. ส. กรมรินฺ.
  23. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  24. กิญฺจน : (นปุ.) กิเลสชาตเครื่องกังวล, ความกังวล, ความห่วงใย, กิเลสชาตผู้ย่ำยีสัตว์ วิ. กิญฺเจติ สตฺเต มทฺทตีติ กิญฺจนํ. กิจิ มทฺทเน, ยุ.
  25. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  26. กุทาจน : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, ในการไร, ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางที, ในการไหน ๆ. วิ. กสฺมึ กาเล กุทาจนํ. กึ+ทาจนํ ปัจ. ลงในอรรถ กาลสัตตมี.
  27. กุมฺภี : (อิต.) หม้อ, ขวด, ตุ่ม. วิ. กุยา ปฐวิยา ภวตีติ กุมฺภี. กุปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ, อิตฺถิยํ อี, นิคฺคหิตาคโม. เกณ อคฺคินา ภวติ เตเนว ปจนภาวโตติ วา กุมฺภี. กปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ, อสฺสุ, นิคฺคหิตาคโม. เกน ชเลน อุมภียตีติ กุมฺภี. อุภฺ อุมฺภฺ วา ปูรเณ, กมุ อิจฺฉายํ วา, โภ, อสฺสุ, อิตถิยํ อี.
  28. กุลาจล : ป. มหาบรรพต, ชื่อรวมของภูเขาใหญ่ทั้งเจ็ด คือเขาสัตตบริภัณฑ์ ซึ่งล้อมรอบเขาพระสุเมรุอยู่
  29. โกกิล : (ปุ.) นกกระเหว่า, นกกาเหว่า, นก ดุเหว่า. วิ. กุกติ อตฺตโน นาเทน สตฺตนํ คณฺหาตีติ โกกิโล. กุกฺ อาทาเน, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส.โกกิล.
  30. ขคฺค : (ปุ.) กระบี่, ดาบ, พระขรรค์ ชื่อศัตราวุธ ชนิดหนึ่ง มีคมสองข้าง กลางของความกว้างนูน ปลายแหลม, พระขรรค์ชัยศรี. คำชัยศรีเป็นคำใช้ประกอบชื่อของสิ่งต่างๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล. ขคฺคฺ ขณฺฑเภเท, อ. ส. ขฑฺคฺ.
  31. ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
  32. ขนฺธ : (ปุ.) ขันธะ ขันธกุมาร ชื่อของขันธกุมาร ๑ ใน ๓ ชื่อ อีก ๒ ชื่อคือ กุมาร สตฺติธร. วิ. ขณฺฑติ ทานผลนฺติ ขนฺโธ. ขฑิ ขณฺเฑ, อ, ฑสฺส ธตฺตํ. ขํ สคฺคํ ธาติ วิทธาตีติ วา ขนฺโธ. ขปุพฺโพ ธา ธารเณ, อ, นิคฺคหิตา คโม.
  33. เขจร : (ปุ.) สัตว์ผู้บินไปในอากาศ, นก. เข+จร ไม่ลบ เอ ซึ่งสำเร็จมาจากสัตมีวิภัตินาม.
  34. คทา : (อิต.) ตะบอง, ไม้ตะบอง, ไม้พลอง, ศัตรา. วิ. คํ วุจฺจติ วชิรํ, ตํ วิย ทุกฺขํ ททาตีติ คทา. อาวุธกุเวร วิ. อสฺส กุเวรสฺส ปหรณํ อาวุธํ คทา.
  35. คุณเทสนาปริยตฺตินิสฺสตฺตนิชฺชีววส : (วิ.) อันสามารถแห่งคุณธรรมและเทสนาธรรม และปริยัติธรรม และนิสสัตตนิชชีวธรรม.
  36. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  37. จนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทน์ชื่อต้นไม้มีดอกผล และแก่นมีกลิ่นหอม, ต้นจันทน์, ไม้จันทน์, แก่นจันทน์. วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมงฺคิตาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺตํ สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺทนํ. จทิ หิาทเน, ยุ. ส. จนฺทน.
  38. จมฺม : (นปุ.) โล่ ชื่อเครื่องปกป้องศัตรา มีรูป ร่างต่างๆ จรฺ คติ-ภกฺขเณสุ, โม. ลบ รฺ ซ้อน มฺ หรือแปลง รฺ เป็น มฺ หรือตั้ง จมุ อทเน, อ. ซ้อน มฺ.
  39. จิตฺตช จิตรช : (วิ.) เกิดแต่จิต วิ. จิตฺตโส ชาโต จิตฺตโช. เกิดในจิต วิ. จิตฺตสฺมึ ชาโต จิตฺตโช. กฺวิ ปัจ. นามกิตก์ จะตอบเป็น ปญจมีตัป. สัตตมีตัป. ก็ได้. โส ปัจ. ลงใน ปัญจมีวิภัติ.
  40. จิร : (อัพ. นิบาต) นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน, ยืนนาน, สิ้นกาลนาน, สิ้นกาลช้านาน. ลงในทิฆกาล รูปฯ ๒๘๒ อภิฯ เป็นสัตมี ด้วย แปลว่า ในก่อน, ในกาลก่อน.
  41. ฉก : (นปุ.) ขี้, คูถ, สกฺ สตฺติยํ, อ, สสฺส, โฉ.
  42. ฉมา : (อิต.) แผ่นดิน วิ. สตฺตานํ อโธปตนํ ฉินฺทตีติ ฉมา. ฉิ เฉทเน, โม อิสฺสตฺตํ. อถวา, ฉมนฺติ เอตฺถาติ ฉมา. ฉมฺ คติยํ, อ. ขมุ สหเณ วา, อ, ขสฺส โฉ.
  43. ชนฺตุ : (ปุ.) สัตว์, สัตว์เกิด. วิ. ชายตีติ ชนฺตุ. ชนียเต กมฺมกิเลเสหีติ วา ชนฺตุ. ชายติ วา กมฺมกิเลเสหีติ ชนฺตุ. อรรถกถากุลาวก ชาดก ว่า ชนฺตูติ สตฺโต แปลว่า บุคคล คนดังคำในมหาฎีกามหาสุตตโสมชาดก ว่า ชนฺตูติ ปุคฺคโล.
  44. ชาตกี : (อิต.) สัตตบุษย์ ชาตบุษย์ ชื่อบัว, ต้น ผักชีล้อม.
  45. ติริย : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขว้าง, โดยกว้าง, โดยเบื้องขวาง, ใน เบื้องขวาง. รูปฯนามกัณฑ์ว่าเป็น สัตตมิยัตถนิบาต.
  46. ติโร : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ขวาง, ปิด, โดยขวาง, ในเบื้องขวาง, ในภายนอก. รูปฯ นามกัณฑ์ว่าลงในอรรถสัตมี.
  47. ตุหิน : (นปุ.) น้ำค้าง,วิ. โตหติ หึสตีติ ตุหินํ. ตุหฺ อทฺทเน, อิโน. โมคคัลลายนพฤติ วิ. ตุฑติ สตฺเต ปีเฬตีติ ตุหินํ. ตุทฺ วฺยถเน, อิโน, ทสฺส โห.
  48. ถิ ถี : (อิต.) หญิง, สตรี, สัตรี. วิ. ถียติ คพฺโภ เอติสฺสาติ ถี. ถียติ สงฺฆาตํ คจฺฉติ คพฺโภ เอติสฺสาติ วา ถี. เถ สทฺทสงฺฆาเตสุ, อี. ธา ธราฌณ วา, อี. แปลง ธ เป็น ถ ศัพท์ต้น รัสสะ. ส. สตรี.
  49. ทกฺขิณานุสฺสรณ : (นปุ.) ทักขิณานุสรณ์ ทักษิณานุสรณ์ ชื่อของการทำบุญครบ ๗ วัน นับแต่วันมรณะ มักทำเป็นการบอก แขกใหญ่ ที่เรียกว่า สัตตมวาร สัตมวาร ( ครบเจ็ดวัน ).
  50. ทิวา : (อัพ. นิบาต) วัน, กลางวัน, ในกลางวัน. อภิฯ ลงใน ปฐมาทุติยา และ สัตตมี. รูปฯ ลงใน ปฐมา ทุติยา และกาลสัตตมี.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-142

(0.0625 sec)