สิ : (อัพ. นิบาต) ปุจฺฉนตฺถวจนนิปาต. อุ. โก สิ อ. ใครเล่า.
ยกฺขินี : (อิต.) ยักษินี, นางยักษ์.
สิสิร : (วิ.) เย็น, สบาย, เป็นอยู่ดี. สสฺ สุสสเน, อิโร, อสฺสิ. สิสฺ อิจฺฉายํ วา. หนาว ก็แปล. ส. ศิศิร.
อปฺปติ (ฏิ) หต : ค. ไม่ถูกกระทบ, ไม่ถูกทุบ
สิตา :
(อิต.) รอยไถ. สิ สเย, โต, อิตฺถิยํ อา. เสนฺติ ฆราวาสํ เอตายาติ สิตา. สิ พนฺธเน. สิตา นารี. ดู สีตา ด้วย.
สิรา : (อิต.) เอ็น วิ. เสติ สรรนฺติ สิรา. สิ พนฺธเน, โร, อิตฺถิยํ อา.
สิรี : (อิต.) ความเจริญ, ฯลฯ, สมบัติ, ศรี. วิ. กตปุญฺเญหิ เสวตีติ วา สิรี. สิ เสวายํ นิสฺสเย วา, โร, อี จ. อภิฯและฎีกาอภิฯ. ส. ศฺรี.
สิโก : (ปุ.) เกียรติ, ยศ, เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ความชื่นชม, ความสรรเสริฐ, คำสรรเสริญ, ฉันท์ (มีปฐยาวัตเป็นต้น). โศลก ชื่อคำประพันธ์สันสกฤต ๔ บาท เป็น ๑ บท เรียกว่า โศลก ๑ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของคำสำหรับสวดสรรเสริญ. สิโลกฺ สงฺฆาต, อ.
สินาน : (นปุ.) การอาบ, การอาบน้ำ, เครื่องสนาน, เครื่องสำอาง, เครื่องอาบน้ำ. สินา โสจยฺเย, ยุ.
สินิทฺธ : (วิ.) สิเนหะ, รัก, รักใคร่, มีใจรักใคร่, ละเอียด, เรียบ, กลมเกลียว, เกลี้ยงเกลา, งดงาม, อ่อน, อ่อนโยน, อิ่มใจ, ชอบใจ, อาลัย, สินิท, สนิท, สนิธ. สินิหฺ ปิติยํ, โธ, หสฺส โท.
สิริวาส : (ปุ.) ยางสน. วิ. สิริยา อาวาโส สิริวาโส.
สิริส สิรีส : (ปุ.) ซีก, ไม้ซีก. สรติโรคนฺติ สิริโส สิรีโส วา. กัจฯและรูปฯ อิส ปัจ. อภิฯ และฎีกา อีส ปัจ. สรฺ หึสายํ, อสฺสิ, สรฺ จินตายํ วา.
สิโรธรา : (อิต.) คอ วิ. สิรํ ธรตีติ สิโรธรา. สิรปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ, อิตฺถิยํ อา. สิโร ธิยฺยเต อสฺสนฺติ วา สิโรธรา. ธา ธารเณ, อโร.
สิโรมณิ : (ปุ. อิต.) ปิ่น, ปิ่นปักผม. วิ. มกุฎสิรสิ จุมฺพิตา มณิ สิโรมณี.
สิโรรุห : (ปุ.) ผม วิ. สิรสฺมึ รุหตีติ สิโรรุโห. สิรปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน, อ.
สิโรเวฐน : (นปุ.) ผ้าโพกหัว, จอม, มงกุฎ, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ยมีกรอบหน้า), อุณหิส (กรอบหน้า) มงกุฎา. วิ. สิรโส เวฐนํ สิโรเวฐนํ.
สิลาฆา : (อิต.) ความชม, ฯลฯ. สิลาฆฺ กตฺถเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
สิลุจฺจย : (ปุ.) ภูเขา วิ. สิลาน มุจฺจโย สิลุจฺจโย.
สิกตา : (อิต.) ทราย. สิจฺ ฆรเณ, โต. อ. ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง จ เป็น ก อา อิต.
สิกร : (ปุ.) ฝนตกประปราย. สิจฺ ฆรเณ, อโร.
สิขาพนฺธ : (นปุ.) เครื่องผูกมวยผม.
สิตามฺพุช : (ปุ. นปุ.) บัวขาว, ดอกบัวขาว.
สินิห : ค. รัก, เยื่อใย
สิเนเหติ : ก. รัก, พา
สิปาฏิกา : อิต. ถังเล็ก, รังเล็ก
สิริยสน : (นปุ.) ที่นอนอันเป็นสิริ, ที่บรรทม.
สิริสป : ป. งู
สิริสป สิรึสป : (ปุ.) สัตว์ผู้เสือกไปด้วยศรีษะ, สัตวเสือกคลาน, สัตว์เลื้อยคลาน. สิรปุพฺโพ, สปฺปฺ คคิยํ, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อิ ลบ ปฺ สังโยค ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
สิริสยนปาลก : (ปุ.) จางวางมหาเล็ก.
สิรีส : ป.ไม้ซึก
สิโรชาล : ป. ผ้าคลุมหัว
สิลาคุฬ : ป. ก้อนหิน, ลูกหิน
สิลาฆ : (วิ.) ชม, ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ, อวด.
สิลาฆติ : ก. ยกย่อง, ชมเชย
สิลาปฏฺฏ : นป. แผ่นหิน
สิลาโปกฺขรณี : ป. ตะพังหิน
สิลามย : ค. ทำด้วยหิน
สิลายูป : (ปุ.) ปราสาทหิน,
สิลิฎฐก : (วิ.) สละสลวย, ระเบียบเรียบร้อย, งดงาม.
สิลุตฺต : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู. วิ. นิพฺพิสตาย อมาริตตฺตา สีลยุตฺตํ อตฺตํ มโน ยสฺมึ โส สีลุตฺโต. สลี+อตฺต รัสสะ อี เป็น อิ แปลง อ ที่ ล เป็น อุ.
สิวา : อิต. สุนัขจิ้งจอก
สิวาลย : (ปุ.) เทวสลานของพระอิศวร, ศิวาลัย.
สิตรสำ : (ปุ.) สิตรังษี ชื่อของพระจันทร์ พระจันทร์.
กาสิ : (ปุ.) กาสี ชื่อชนบทพิเศษ ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ วิ. สมฺปตฺติยา กาสตีติ กาสิ. กาสฺ ทิตฺติยํ, อิ. เวสฯ เป็น กาสี.
กุสิ : นป. ผ้ากุสิ, ชิ้นผ้าตัวยืนเล็กรียาวต่อข้างมณฑล และอัฑฒมณฑลในจีวร ๕ ขันฑ์
กุสินารา : (อิต.) กุสินารา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ยสฺส มาปิตกาเล นิมิตฺต โมโลเกนฺตา พฺราหฺมณา กุสหตฺถนรํ ปสฺสิตฺวา มาเปนฺติ สา กุสินารา.
เกสาเกสิ : (อิต.) การรบอันจับที่เส้นผมที่เส้นผม เป็นไป วิ. เกเสสุ จ เกเสสุ จ คเหตฺวา อิทํ ยุทธํ ปวตฺตตีติ เกสาเกสิ. อี อิต. รัสสะ เป็น อิ? เป็น พยติหารลักขณพหุ พ. รูปฯ ๓๔๑.
โกสินารก : ค., ป. ผู้อาศัยอยู่ในเมืองกุสินารา; ชาวเมืองกุสินารา
โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.