สติ : อิต. ความระลึกได้
สตี : อิต. หญิงผู้ซื่อสัตย์ต่อสามี, หญิงผู้บริสุทธิ์
เตจตฺตาฬีส, - สติ : ค. (อิต.) สี่สิบสาม
ทฺวตฺตึส, - สติ : ค. สามสิบสอง
ทฺวิปญฺญาส, - สติ : ค. ห้าสิบสอง
สติปฏฺฐาน : นป. การตั้งสติ
สติมนฺตุ : ค. คนมีสติ
สติโวสฺสคฺค : ป. การปล่อยสติ
สติสมฺโมส, -โมห : ป. การหลงลืม
อุกฺกสติ, - เสติ : ก. ยกตน, สรรเสริญ, ชมเชย, สดุดี
กายคตาสติ : (อิต.) สติอันไปแล้วในกาย, สติอันไปในกาย, กายคตาสติ คือการใช้ สติควบคุมจิตพิจารณาร่างกาย เช่น ผม ขน เล็บ เป็นต้น ให้เห็นว่าไม่งาม.
กายานุปสฺสนาสติปฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งไว้ ซึ่งสติกำหนดพิจารณาซึ่งกาย, การตั้งไว้ซึ่งสติเป็นเครื่องกำหนดพิจารณากาย, การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย.
จาคานุสฺสติ : อิต. จาคานุสติ, การระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว
ฑสติ : ก. ดู ฑํสติ
เทวตานุสฺสติ : อิต. เทวตานุสสติ, การระลึกถึงคุณของเทวดา
ธมฺมานุลฺสติ : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่อง ระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกเนืองๆ ซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ธมฺมคุณ+อนุสฺสติ.
ปฏิสฺสติ : อิต. สติมั่นคง, ความระลึกได้, ความจำได้
พาวีสติ : (ปุ.) ยี่สิบสอง. ทวิ+วีสติ.
พุทฺธานุสฺสติ : อิต. สติอันเป็นไปในพระคุณของพระพุทธเจ้า, การระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า
มรณานุสฺสติ : (อิต.) ระลึกถึงซึ่งความตาย, ความนึกถึงความตาย, การนึกถึงความตาย. วิ. มรณานํ อนุสฺสติ มรณานุสฺสติ. เป็น ฉ. ตัป. รูปฯ ๓๓๖.
สต : ๑. นป. ร้อย;
๒. ค. มีสติ;
๓. กิต. ระลึกได้, จำได้แล้ว
สสฺสติ : (อิต.) ความเที่ยง, ฯลฯ. วิ. สทา สรนฺติ คจฺฉนฺตีติ สสฺสติ. สทาปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, ติ.
หสติ :
ก. ดู หสติ, ชูชัน(ผม, ขน)
อนุสฺสติ : (อิต.) อันระลึกเนืองๆ, ความระลึกบ่อยๆ, ความระลึกตาม, ความระลึกถึง, ความระลึก.วิ. อนุ ปุนปฺปุนํสรณํ อนุสฺสติ
อสติ : ๑. ก. กิน, กลืนกิน, ดื่ม ;
๒. กิต. เมื่อไม่มี, ไม่มีอยู่, ไม่เป็นอยู่ ;
๓. ค. ไม่มีสติ
อานาปานสติ : (อิต.) สติกำหนดลมหายใจเข้าและลมหายใจออก, สติกำหนดลมหายใจเข้าออก.
กสติ : ก. ไถ, พรวน
กสฺสติ : ก. คร่า, ฉุด, ลาก, ดึง
กิลิสฺสติ : ก. เปียก, ชุ่ม, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์
กิสฺสติ : ก. ผอม, อ่อนเพลีย, ล้า, เบื่อหน่าย
คเวสติ : ก. แสวง, เสาะหา, ค้นหา, สืบ, ตามหา
ฆสติ : ก. กิน
ฆสติ : ก. ขัด, สี, ถู, บด; ยินดี, ชอบใจ, ร่าเริง
ฆุสติ : ก. ออกเสียง, ประกาศ, ป่าวร้อง
จตุจตฺตาฬีสติ : อิต. สี่สิบสี่
จตุตฺตึสติ : อิต. สามสิบสี่
จตุวีสติ : (อิต.) ยี่สิบยิ่งด้วยสี่, ยี่สิบสี่.
จิกฺขลฺสติ : ก. ปรารถนาจะให้หยด, ปรารถนาจะฟอกออก
ฉจตฺตาฬีส, - ฬีสติ : อิต. สี่สิบหก
ฉตฺตึส, - ตึสติ : อิต. สามสิบหก
ชิคึสติ : ก. อยากได้, ต้องการ, ปรารถนา
ฌสติ : ก. ทำร้าย
ฑสติ : ก. กัด, ต่อย
ตสติ : ก. ไหว, สะดุ้ง, กระหาย, อยาก
ตึส ตึสติ : (อิต.) สามสิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สามสิบ ( ทส จ ทส จ ทส จ ทส ) เป็น ติ ลง โย วิภัตติ เป็นอีสํ ลบนิคคหิต รัสสะ อี ลงนิคคหิตอาคม ที่ ติ ศัพท์หลัง ลง ติ อาคมท้ายศัพท์ รูปฯ ๓๙๘ หรือแปลงติก ( หมู่แห่งสาม ) เป็น ติ รูปฯ ๓๙๗.
ตึส, ตึสติ : อิต. สามสิบ