ทีปาลย : ป. สถานที่พำนัก, ที่พักผ่อน
นิฑฺฒ : นป. รัง, รังนก; สถานที่, ที่พักผ่อน, ที่นั่ง; เก้าอี้
นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
นิเวส : ป. นิเวส, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้านเรือน, การตั้งภูมิลำเนาอยู่
อาวสถ : (ปุ.) ที่เป็นที่อาศัย, ที่พัก, ที่พักอาศัย, เรือน. วิ. อาวสนฺติ เอตฺถาติ อาวสโถ. อาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. อาวสถ.
โอสรณ : (นปุ.) การเที่ยวไป, การไปถึง, ที่ อาศัย, ที่พัก, ที่ประชุม. โอปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, ยุ.
พลาธิการ : (ปุ.) บุคคลผู้ทำยิ่งในเสนา, พลาธิการชื่อกรมๆ หนึ่ง มีหน้าที่ควบคุมจัดหา ที่พัก เสบียงอาหาร ฯลฯ ในกองทัพ ถ้าระดับต่ำกว่ากองทัพ ก็เป็นชื่อของ กอง และเป็นชื่อของผู้ทำหน้าที่ในกรมกองนั้น.
กมฺมนฺตฏฐาน : นป. ที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำงาน, สถานที่ทำงาน
กลนฺทกนิวาป : (วิ.) อันเป็นสถานที่ให้เหยื่อ แก่กระแต.
กาลเทส : (ปุ.) เวลาและท้องถิ่น, เวลาและ ถิ่นที่, เวลาและสถานที่, คราวและที่, กาลเทสะ กาลเทศะ คือการทำที่เหมาะ ควรแก่เวลาและสถานที่ การรู้จักเวลาและ สถานที่ การรู้จักคราวควรและไม่ควร.
กีฬาสาลา : อิต. โรงกีฬา, โรงสำหรับการเล่นกีฬา, สถานที่รื่นเริง
ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
เขมฏฐาน : นป. สถานที่อันเกษม, สถานที่ปลอดภัย
คิญฺชกาวสถ : ป. บ้านเรือนหรือสถานที่ที่สร้างขึ้นด้วยอิฐหรือมุงด้วยกระเบื้อง
จตุราปสฺเสน : ค. ผู้มีธรรมเป็นที่พักพิงมีสี่ประการ
ฐิตฐาน : ค. ที่เป็นที่ยืน, สถานที่ตั้ง
ตป (โป) วน : นป. สถานที่ควรแก่การบำเพ็ญตบะ, ป่าของผู้บำเพ็ญพรต
ตุฏฺฐปณฺฑิต : (ปุ.) ดุษฏีบัณฑิต เป็นคำเรียก ผู้ที่สอบได้ปริญญาเอกของสถานที่ศึกษา ชั้นอุดมศึกษา. ส. ตุษฺฏิปณฺฑิต.
ทฑฺฒฏฺฐาน : นป. ที่ที่ถูกไฟไหม้, บริเวณที่ถูกไฟไหม้, สถานที่เผา (ศพ)
ทิวาฏฺฐาน : นป. ที่พักในเวลากลางวัน
เทวาลย : (ปุ.) ที่อยู่ของเทวดา, ประเทศเห็นที่อยู่เทวดา, เทวาลัย ชื่อสถานที่เป็นที่ประดิษฐานเทวรูปฯ โบสถ์พราหมณ์, วัดของศาสนาฮินดู. ส. เทวาลย.
ธนาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนแห่งเงิน,คลังแห่งเงิน,ธนาคารชื่อสถานที่ทำการค้าด้วยเงินคือรับฝากและให้กู้เงิน.ส.ธนาคาร
ธมฺมทีป : ๑. ค. ธรรมประทีป, ผู้มีธรรมเป็นดวงประทีป;
๒. ค. ผู้มีธรรมเป็นที่พึ่ง, มีธรรมเป็นที่พักพิง
ธมฺมสมย : ป. สถานที่แสดงธรรม, เวลาแสดงธรรม
นจฺจฏฺฐาน : นป. โรงละคร, สถานเต้นรำ
นทีทุคฺค : นป. สถานที่ซึ่งเข้าไม่ถึงเพราะมีน้ำ, การหยั่งไปยากในแม่น้ำ, หล่ม
นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
นิฑฺฑ : นป. รัง, รังนก, ที่พักผ่อน
นิวาสนภูมิ : อิต. ภูมิเป็นที่อาศัยอยู่, สถานที่อยู่อาศัย
ปฏิกฺกมนสาลา : อิต. ศาลาเป็นที่หลบหลีก, ศาลาเป็นที่พักผ่อน
ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
ปสฺสย : ป. ที่อยู่อาศัย, อาศรม, ที่พึ่งพิง, ที่พักพิง
ปสูติฆร : นป. เรือนเป็นที่คลอด, สถานผดุงครรภ์
ปากฏฺฐาน : นป. สถานที่หุงต้ม, ครัว
ปาฐสาลา : อิต. สถานที่ศึกษา, โรงเรียน
ปุญฺญภูมิ : อิต. สถานศักดิ์สิทธิ์สำหรับแสวงบุญของศาสนิก
โปราณวตฺถุสาลา : (อิต.) พิพิธภัณฑ์สถานชื่อสถานที่เก็บรักษาของเก่าต่างๆ.
ภูม ภูมก : (ปุ.) ชั้น, ขอบเขต, พื้น, พื้นดิน, สถานที่.
มคฺคุทฺเทสก : (ปุ.) คนผู้นำทาง, คนผู้นำคนอื่นเที่ยว, มัคคุเทสก์ (ผู้นำคนอื่นซึ่งไม่ชำนาญทางหรือสถานที่นั้นๆ เที่ยว).
มหาธาตุ : (ปุ. อิต.) ธาตุใหญ่, ทองคำ, มหาธาตุ เป็นคำเรียกสถูปที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และเป็นคำเรียกวัด ซึ่งมีสถูปหรือสถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เช่น วัดมหาธาตุ วัดพระศรีรัตน มหาธาตุ วัดพระศรีมหาธาตุ เป็นต้น.
มหานส : (นปุ.) โรงมีวัตถุอันบุคคลพึงกินมาก, สถานที่หุง, โรงครัว, เรือนครัว, ครัว. วิ. มหนฺตานิ พหูนิ อสิตพฺพานิ ภวนฺติ เอตฺถาติ มหานสํ. มหนฺตปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อน แล้ว แปร น ไว้หน้า ส. และแปลง มหนฺต เป็น มหา.
มหาปณฺฑิต : (ปุ.) คนมีความรู้มาก, คนฉลาดมาก, คนมีปัญญามาก, มหาบัณฑิต เป็นคำเรียกผู้ที่สอบปริญญาโทของสถานต่างๆ ชั้นอุดม.
มหาวิชฺชาลย มหาวิทฺยาลย : (ปุ.) สถานที่สำหรับเข้าไปศึกษาความรู้ชั้นสูง, มหาวิทยาลัย ชื่อสถานศึกษาความรู้ชั้นอุดม.
สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
โสณฺฑา : (อิต.) สถานที่ทำไว้เพื่อดื่มสุรา, โรงสุรา, ร้านสุรา. สนฺ ทาเน, อสฺโสตฺตํ, วณฺณวิกาโร จ.
อทน : (นปุ.) สถานที่ให้อาหาร, สถานที่รับอาหาร. อาปุพฺโพ, ทา ทาเน, ยุ. รัสสะ อาเป็น อ. ส. อทฺน.
อพฺภูตวตฺถุนิจยสาลา อพฺภูตสาลา : (อิต.) พิพิธ- ภัณฑสถาน.
อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
อวิห : (ปุ.) อวิหะชื่อของรูปพรหมชั้นที่ ๑๒ชื่อของภพเป็นที่เกิดของอวิหพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่ละสถานที่ของตนโดยเวลาเล็กน้อย.วิอปฺปเกนกาเลนอตฺตโนฐานนวิชหนฺตีติอวิหา.พรหมผู้ไม่เสื่อมจากสม-บัติของตนวิ.อตฺตโนอตฺตโนสมฺปตฺติยานหายนฺตีติอวิหา.
อสฺสมปท : (นปุ.) สถานที่เป็นที่ไปของบุคคลผู้ระงับความโกรธ, ฯลฯ, อาศรมบท.