กุมารกีฬา : อิต. การเล่นของเด็ก, การรื่นเริงของเด็ก, กีฬาเด็ก
จจฺจร : (นปุ.) ทางสี่แพร่ง, สนาม, ลาน จรฺ คติภกฺขเณสุ, จโร, รสฺส โจ.
ลสติ : ก. ส่องแสง; เล่น
อชิร : (นปุ.) ที่เป็นที่เป็นไป, สนาม, ลาน, ลานบ้าน.วิ.อชนฺติ เอตฺถาติ อชิรํ. อชฺคมเณ, อิโร. ส.อชิร.
ถนป : (ปุ.) เด็กผู้ดื่มน้ำอันเกิดจากนม, เด็ก ผู้ดื่มน้ำนม, เด็กยังดื่มนม, เด็กยังเล็ก, เด็กทารก, ทารก. วิ. ถนํ ปิวตีติ ถนโป. ถนปุพโพ, ปา ปาเน, อ.
เกทาร : (นปุ.) ทุ่ง, นา, นาดอน, ลาน, สนาม. วิ. กฺลทียตีติ เกทารํ กฺลิทฺ กฺลทฺ วา อลฺลภาเว, อาโร, ลฺโลโป. เก ชเล ลสติ ทาโร วิทารณ มสฺสาติ วา เกทารํ. เก ปฐวิยํ ทายกสฺสทาฬนํ เอตฺถาติ วา เกทารํ. เก+ทาฬน ลบ น แปลง ฬ เป็น ร เป็น อลุตตสมาส.
หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
กญฺญา : อิต. นางสาวน้อย, เด็กหญิง
กฏิภาร : ป. ของหรือภาชนะที่นำไปด้วยเอว เช่นการอุ้มเด็ก
กนี : (อิต.) เด็กหญิง, กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, อี. ส. กนี.
กปฺปิยทารก : ป. เด็กที่คอยรับใช้พระ
กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
กฺมาริกา กุมารี : (อิต.) เด็กหญิง, สาวน้อย, กุมารี, ผู้หญิง, นาง.
กรภ : (ปุ.) กรภะ ชื่อมือด้านข้างข้อมือและ นิ้วก้อยที่เด็กทำดุจศัตราประหารกันและ กัน, ข้างมือ, สันมือ, อูฐ. กรฺ หึสายํ กรเณ วา, อโภ. ส. กรภ.
กากปกฺข : (ปุ.) ผมที่ขมวดไว้เป็นหย่อม ๆ (ผมเด็กขมวดแยกออกเป็น ๓ หย่อม หรือ ๕ หย่อม), ผมแหยม (ปอยผมที่เอาไว้เป็น กระจุกบนหัวนอกจากจุก), ไรผม, ปีกของ กา, ปีกกา. กากานํ ปกฺขสณฺฐ านตฺตา กากปกฺโข.
กากุฏเฏปก : ค. ผู้แพ้วกา, ผู้ไล่กา, เด็กผู้รู้เดียงสาพอจะไล่กาได้
กิฬน กีฬน : (นปุ.) การเล่น, กีฬา, กรีฑา. กิฬฺ กีฬฺ กีฬเน, ยุ.
กีฬติ : ก. เล่น, เล่นกีฬา, ร่าเริง
กีฬนก : ๑. นป. เครื่องเล่น, ตุ๊กตา;
๒. ค. ผู้เล่น
กีฬนา : อิต. การเล่น, การเล่นกีฬา, ความร่าเริง
กีฬา : (อิต.) การเล่น, ความซน, กีฬา, กรีฑา. กีฬฺ กีฬเน, อ.
กีฬาโกฬ, โกฬก : นป. ลูกบอล, ลูกกลมสำหรับเล่น
กีฬาปนก : ๑. นป. สิ่งที่ชวนให้เล่น, เครื่องเล่น, ตุ๊กตา;
๒. ค., ป. ผู้ใช้ให้เล่น, ผู้สั่งให้เล่น, เจ้าหน้าที่การกีฬา, นักกีฬา
กีฬาปสุต : ค. ผู้ขวนขวายในการเล่น, ผู้ใส่ใจในการกีฬา
กีฬาเปติ : ก. ให้เล่น, ฝึก, ซ้อม
กีฬามณฺฑล : (นปุ.) สนามกีฬา.
กีฬาสาลา : อิต. โรงกีฬา, โรงสำหรับการเล่นกีฬา, สถานที่รื่นเริง
กีฬิต :
๑. นป. ดู กีฬา๒. กิต. อันเขาเล่นแล้ว, อันเขารื่นเริงแล้ว
กุนฺถ : (ปุ.) กุนถะ ชื่อมดชนิดหนึ่ง, มด, มดดำ. เด็กชาย, กุถิ หึสายํ, อ.
กุมารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, กุมาร. ก สกัด. เด็กน้อย, กุมารน้อย. ก ที่ลงในอรรถว่า น้อย. ที่เป็นพหุ: แปลว่า เด็กๆ.
กุมารกวาท : ป. วาทะเยี่ยงเด็ก, การพูดอย่างเด็ก
กุมารปญฺห, - หา : ป., อิต. กุมารปัญหา, ปัญหาสำหรับเด็ก, ปัญหาที่ผูกขึ้นพอเหมาะกับภูมิปัญญาของเด็ก
กุมารภจฺจา : อิต. นางผดุงครรภ์, คนดูแลเด็ก
กุมารลกฺขณ : นป. การทำนายลักษณะเด็ก
กุมาริกา, - รี : อิต. กุมารี, เด็กหญิง, เด็กหญิงวัยรุ่น, หญิงพรหมจารี
เกลิ : อิต. ความสนุกสนาน, การเล่นกีฬา
เกฬน : (นปุ.) การเล่น, การรื่นเริง. กีฬฺ วิหาเร, ยุ, ณิ.
เกฬนา เกฬิ : (อิต.) การเล่น, การรื่นเริง. กีฬฺ วิหาเร, ยุ, ณิ.
เกฬายติ : ก. ปรารถนาจะเล่น, อยากเล่น
เกฬายน : นป. ความปรารถนาจะเล่น, ความอยากเล่น
เกฬิ : อิต. กีฬา, การเล่น; การเยาะเย้ย
โกมารพฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์เนื่องมาแต่ตนดำรงอยู่ในวัยเด็ก, พรหมจรรย์ที่ประพฤติสืบต่อมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก
โกมารภจฺจ : ๑. นป. วิชาสำหรับรักษาโรคเด็ก, กุมารเวชวิทยา;
๒. ค. ผู้ที่เจ้าชายชุบเลี้ยง (หมายถึงหมอชีวกโกมารภัจ)
ขิฑฺฑปโทสิก : ค. ผู้อันความเพลิดเพลินประทุษร้าย คือ ได้รับโทษจากการเล่น
ขิฑฺฑรติ : อิต. ความเพลิดเพลินในการเล่น
ขิฑฺฑา : อิต. การเล่น, การร่าเริง, กีฬา
ขิฑฺฑาทสก : นป. รอบสิบปีของการเล่น, ได้แก่สิบปีที่สองของชีวิตมนุษย์ คือ ๑๑-๒๐ ปี ของอายุ
ขิฑา ขิฑฺฑา : (อิต.) การเล่น, การรื่นเริง. ขิฑฺ กีฬายํ, อ, โฑ, อิตฺถิยํ อา. ขํ ตุจฺฉํ อิฑฺฑา วาจา เอตฺถาติ ขิฑฺฑา.
คพฺภปริสฺสว : ป. รก (เครื่องสำหรับหล่อเลี้ยงเด็กในครรภ์)
คพฺภมล : นป. มลทินแห่งครรภ์, รก (เครื่องสำหรับหล่อเลี้ยงเด็กในครรภ์แนบอยู่กับมดลูกมีสายล่ามมาที่สะดือเด็ก)