Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สนา , then สน, สนะ, สนา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สนา, 386 found, display 1-50
  1. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  2. ชิคึสนตา, ชิคึสนา, ชิคึสา : อิต. ความอยากได้, ความต้องการ, ความปรารถนา, ความโลภ
  3. อุทยพฺพยานุปสฺสนญาณ อุทยพฺพยานุปสฺสนาญาณ : (นปุ.) ญาณพิจารณาเห็นทั้งความเกิดทั้งตามดับ, ปรีชาคำนึงเห็นทั้งความเกิดทั้ง ความดับ, ปรีชาคำนึงเห็นความเกิดและ ความดับ, ปัญญาพิจารณาเห็นความเกิด และความดับ.
  4. คุณเทสนาปริยตฺตินิสฺสตฺตนิชฺชีววส : (วิ.) อันสามารถแห่งคุณธรรมและเทสนาธรรม และปริยัติธรรม และนิสสัตตนิชชีวธรรม.
  5. โฆสนา : (อิต.) การประกาศ, ฯลฯ, โฆษณา, (การประกาศให้รู้กันทั่วๆ ไป) วิ. ฆุสนํ สทฺทนํ โฆสนํ โฆสนา วา.
  6. เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
  7. สามุกฺกสิกเทสนา : (อิต.) เทสนาอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, เทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงให้ผ่องใสด้วยพระองค์เอง, พระธรรมอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, ฯลฯ. คือ อริสัจ ๔.
  8. อนุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็น, การเพ่งเล็ง, การพิจารณา, การพิจารณาเห็น, การพิจารณาเนืองๆ, ความตามเห็น, ฯลฯ, อนุปัสสนาพิจารณาด้วยปัญญา, ปัญญา.อนุปสฺสนาวุจฺจติปญฺญา.ไตร. ๓๐/๘๐/๑๖๐.
  9. อาสีสนา : อิต. ดู อาสึสนา
  10. นมสฺสนา, นมสฺสา : อิต. ดู นมสฺสน
  11. นาสนา : (อิต.) การให้ตาย, ฯลฯ, การฆ่า, การฟัน, การฆ่าฟัน, นาสนะ ชื่อการลงโทษภิกษุ ผู้ทำผิดให้ ลาสิกขา ให้สละสมณเพศ. นสฺ ธาตุ เณ เหตุปัจ. และ ยุ ปัจ.
  12. หึสา หึสนา : (อิต.) การเบียดเบียน, ฯลฯ. ยุ อ ปัจ. ส. หึสน, หึสา.
  13. กเมสนา : อิต. การแสวงหากาม, ความใฝ่ในกาม
  14. กายานุปสฺสนา : (อิต.) การพิจารณาเนือง ๆ ในกาย, การพิจารณาเนือง ๆ ซึ่งกาย, การกำหนดพิจารณากาย.
  15. กายานุปสฺสนาสติปฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งไว้ ซึ่งสติกำหนดพิจารณาซึ่งกาย, การตั้งไว้ซึ่งสติเป็นเครื่องกำหนดพิจารณากาย, การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย.
  16. ขยานุปสฺสนา : อิต. ความรู้แจ้งเห็นจริงในความเสื่อม
  17. ขสนา : (อิต.) คำด่า, คำว่า, ด่า, บริภาษ. ขุสิ อกฺโกเส, ยุ, นิคฺคหิตาคโม.
  18. คเวฏฺฐิ คเวสนา : (อิต.) การแสวงหา, การค้นหา, การเสาะหา, ความแสวงหา, ฯลฯ. คเวสฺ มคฺคเน, ติ, ยุ.
  19. คเวสนา : (นปุ.) การแสวงหา, การค้นหา, การเสาะหา, ความแสวงหา, ฯลฯ. คเวสฺ มคฺคเน, ติ, ยุ.
  20. จิตฺตานุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
  21. ฉินฺนวาสนาปารุปน : (วิ.) ผู้มีผ้าสำหรับนุ่งและ ผ้าสำหรับห่มอันขาดแล้ว.
  22. ญาณผุสนา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูก ต้องคือญาณ, ความถูกต้องคือญาณ,ความถูกต้องด้วยญาณ.
  23. โตสนา : อิต., โตสาปน นป. การทำให้ร่าเริงหรือให้ความยินดี
  24. ทุสฺสนา : (อิต.) กิริยาที่น่าชัง, กิริยาอันน่าชัง, ความไม่พอใจ, ความประทุษร้าย. ทุสฺ โทสนอปฺปิติเยสุ. ยุ. ซ้อน สฺ อา อิต.
  25. เทสนาปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
  26. เทสนาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่ง เทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
  27. เทสนาวิธีกุสลตา : (อิต.) ความที่แห่ง...นั้น เป็นผู้ฉลาดในวิธีแห่งการแสดง, ความที่ แห่งพระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ฉลาดในวิธี แห่งเทศนา.
  28. เทสนาวิลาส : ป. ความไพเราะแห่งเทศนา, ทำนองเทศน์อันไพเราะ, ลีลาการแสดงธรรมอันจับใจ
  29. ธมฺมตฺถเทสนา : อิต. การแสดงธรรมหรือความหมายแห่งข้อธรรม
  30. ธมฺมเทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดงซึ่ง ธรรม, การแสดงธรรม, การชี้แจงธรรม, การสอนธรรม.
  31. ปริตสฺสนา : (อิต.) ความอยากจัด, ความทะยานอยาก. ปริปุพฺโพ, ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน อาอิต. เป็น นปุ บ้าง.
  32. ปริเวสนา : อิต. การจัดอาหาร, การดูแลอาหารในขณะเลี้ยงกัน
  33. ปหสนา : อิต. ความร่าเริง, ความยินดี
  34. ผุสนา : (อิต.) การถูก, การถูกต้อง, ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูกต้อง, สัมผัส.
  35. ภงฺคาปุปสฺสนา : อิต. ปัญญาพิจารณาการแตกทำลาย
  36. วิปสฺสนา : อิต. ความเห็นแจ้ง
  37. สมฺปหสนา สมฺปหสา : (อิต.) ความร่าเริงทั่วพร้อม, ความรื่นเริงทั่วพร้อม, ความร่าเริงเต็มที่, ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความยินดี, ความยกย่อง. สํ ป ปุพฺโพ, หํส ปีติยํ, ยุ, อ.
  38. สมฺผุสนา : อิต. การถูกต้อง
  39. สูนา : อิต. เขียง
  40. สนา : (อิต.) กองทหาร, กองทัพ, กองทัพบก. สิ พนฺธเน, โน, อิตฺถิยํ อา. แปลว่า ไพร่พล ก็มี คำกลอนใช้เสนี.
  41. อชฺเฌสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องเชื้อเชิญ, การเชื้อเชิญ, การอาราธนา, การแสวงหาอธิปุพฺโพ, อิสฺ เอสฺ วา คเวสเน, ยุ, อิตฺถิยํอา.
  42. อตฺตุกฺกสนา : (อิต.) การยกตน, การยกตนข่มท่าน.
  43. อนฺเวสนา : อิต. การแสวงหา, การตรวจดู
  44. อเนฺวสนา : (อิต.) แปลเหมือนอเนฺวส.วิ. อนุเอสนํคเวสนํอเนฺวสนา.อนุปุพฺโพ, เอสฺ มคฺคเน, อ.ส.อเนฺวษณ.
  45. อเนสนา : (อิต.) การแสวงหาไม่สมควร.
  46. อปกสฺสนา : อิต. การฉุดไป, การขว้างไป
  47. อภิสสนา : อิต. เสียงร้อง (ของม้า)
  48. อภิหึสนา : อิต. เสียงร้องของม้า
  49. สนาติ : ก. กิน, บริโภค
  50. อาณาเทสนา : (อิต.) การแสดงถึงบังคับ, การแสดงถึงข้อบังคับ, คำสอนที่เป็นการบังคับ, คำสอนที่เป็นข้อบังคับ, คำสอนสำหรับบังคับ, อาณาเทศนาได้แก่พระวินัยปิฏก.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-386

(0.0654 sec)