ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
สินิทฺธ : (วิ.) สิเนหะ, รัก, รักใคร่, มีใจรักใคร่, ละเอียด, เรียบ, กลมเกลียว, เกลี้ยงเกลา, งดงาม, อ่อน, อ่อนโยน, อิ่มใจ, ชอบใจ, อาลัย, สินิท, สนิท, สนิธ. สินิหฺ ปิติยํ, โธ, หสฺส โท.
อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
กุญฺจิต : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, ปิด, แนบ, แน่น, สนิท.
ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
ญาตก, ญาติ : ป. ญาติ, พี่น้อง, คนสนิท
ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
นิพฺพาปิต : ค. อันทำให้เย็น, อันทำให้ดับสนิทแล้ว
ปฏิสุตฺต : ค. ผู้หลับสนิท
ปรินิพฺพาติ : ก. ดับสนิท
ปรินิพฺพาน : (นปุ.) ความดับสนิท, ปรินิพพาน ศัพท์นี้ส่วนมากใช้เป็นคุณบทของ พระพุทธเจ้า.
ปรินิพฺพุต : กิต. ดับสนิทแล้ว
มิชฺชน : (นปุ.) ความเจือ, ความเยื่อใย, ความเอ็นดู, ความรัก, ความสนิท. มิทฺ สิเนหเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
วจฺฉล : ค. สนิท, รักใคร่; ละเอียด
วลฺลภ : ป. คนโปรด, คนสนิท
สขฺย : นป. ความเป็นมิตร, ความเป็นเพื่อน, ความสนิทสนม
สนฺถว : (ปุ.) ความคุ้นเคย, ความสนิท, ความสนิทสนม, การรู้จัก, การรู้จักกัน, การชม, การชมเชย, การเชยชม, ความชม, ฯลฯ, ตัณหา. สํปพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว, โณ, ยุ.
สนฺถวน : (นปุ.) ความคุ้นเคย, ความสนิท, ความสนิทสนม, การรู้จัก, การรู้จักกัน, การชม, การชมเชย, การเชยชม, ความชม, ฯลฯ, ตัณหา. สํปพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว, โณ, ยุ.
สุสูภาพ : (วิ.) ดำสนิท
อพฺภนฺตริก : ค. สนิทสนม, ไว้ใจ, เชื่อใจ
อภินิพฺพุต : ค. อันดับสนิท, อันสงบ, อันผ่องแผ้ว
อภินีล : ค. ดำขลับ, ดำสนิท
อมฺม, อมฺมา : ๑. อ. แน่ะแม่, ข้าแต่แม่ ; เป็นคำร้องเรียกหญิงที่สนิทกัน เช่น แม่มหาจำเริญ ;
๒. อิต. แม่
สนฺท : (วิ.) ไหล, ไหลออก, ไหลไป, แล่น, สนฺทฺ ปสเว, อ.
สินฺทิ : (อิต.) อินทผลัม, เป้ง ก็ว่า. สิทฺ โมจเน เ สฺนหเน จ, อิ, นิคฺคหิตาคโม. สนฺทฺ ปสวเน, อสฺสิ. เป็น สนฺที บ้าง?.
สินฺท : (ปุ.) ความเย็น. สิทิ สีติภาเว, อ.
สินฺทิ, - ที : อิต. มะพลับ, อินทผลัม
สินฺทุ : (ปุ.) การพัน, การผูก. สิ พนฺธเน, ทุ. นิคคหิตอาคม.
สนฺทน : (ปุ.) เกวียน, รถ, รถศึก, ปืน. สนฺทฺ ปสวเน คมเน วา, ยุ.
สินฺทุวาร : (ปุ.) ย่างทราย, ย่านทราย ชื่อเถาวัลย์ป่า ใบใหญ่. วิ. สินฺทุ ํ คพฺภพนฺธนํ วาเรตีติ สินฺทุวาโร.
สินฺทูร : (นปุ.) ชาด, เสน. สนฺทฺ ปสเว, อูโร, อสฺสิ.
สินฺธุ : (ปุ.) ห้วงน้ำ, ทะเล, ประเทศสินธุ. สนฺทฺ ปสเว, อุ, แปลง อ เป็น อิ และแปลง ทฺ เป็น ธฺ. ส. สินธุ.