ถิน : (วิ.) หย่อน, ย่อหย่อน, เบา, หลวม, เหลว (ไม่ได้เรื่อง), คร้านจิต (จิตท้อถอยไม่ อยากทำอะไร). สถฺ เสถิลฺเล, อิโน, ลบ ต้นธาตุ.
กสาย : (วิ.) เป็น...เหลว, เป็นน้ำ.
ขชป : ป. เนยเหลว
คารยฺหวจ : (ปุ.) คนพูดคำอันบัณฑิตพึงติเตียน, คนพูดเหลวไหล.
จุณฺณวิจุณฺณ : (วิ.) แหลกเหลว, ไม่เป็นชิ้นเป็น อัน, ละเอียด, ป่นปี้, ย่อยยับ, เป็น จุณวิจุณ (ละเอียดไม่มีชิ้นดี).
ทธิมณฺฑ : (นปุ.) เนยเหลว, เนยใส. วิ. ทธิโต มณฺฑํ สาโร ทธิมณฺฑํ.
ทธิมณฺฑ, - ฑก : นป. เนยเหลว
ทฺรว : (วิ.) เหลว, ไหลไป, เป็นน้ำ. ทุ คติยํ, โณ. แปลง อุ เป็น อว รฺ อาคม.
ทาน : (นปุ.) น้ำมันเป็นเครื่องเมาแห่งช้าง (ก ริมท), น้ำมันช้าง (เวลาช้างตกมันจะมี มันเหลวเยิ้มออกจากขมับช้าง). วิ.ทียเตติทานํ. อภิฯ และฎีกาอภิฯ. ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. ส. ทาน.
ปารท : ป. ปรอท, ธาตุชนิดหนึ่งมีลักษณะเหลวสีคล้ายตะกั่ว
ภสฺสารามตา : อิต. ความพอใจในการพูดเหลวไหล
มตฺถุ : (นปุ.) เนยเหลว วิ. ทธึ อามสตีติ มตฺถุ. มสฺ อามสเน, ถุ, สสฺส โต. มสิ ปริมาเณ วา.
รส : ป. รส, อายตนะส่วนหนึ่งเป็นวิสัยแห่งลิ้น; อาหารเหลว; มรรยาท; หน้าที่; สมบัติ;ปรอท
วสา : อิต. มันเหลว, ไข
วาจาล : ค. ช่างพูด, พูดเหลวไหล
วิตถ : ค. ไม่จริง, เหลวไหล
วิรชฺฌติ : ก. ล้มเหลว, ผิดหวัง, สูญหาย
วิรทฺธ : กิต. ล้มเหลวแล้ว
วิราธนา : อิต. การล้มเหลว
วิราเธติ : ก. ย่อมล้มเหลว
สุคนฺธนฺหานิย : (นปุ.) สบู่หอม.
อยถา : อ. เหลวไหล, ไม่จริง
อลิก : (วิ.) เหลาะแหละ, เหลวไหล, ไม่จริง, พราง, ไม่เป็นที่รัก.วิ.อลติเอเตนาติอลิกํอลฺอลิวาพนฺธเน, ณิโก.
อวรชฺฌติ : ก. ผิดพลาด, ล้มเหลว, เพิกเฉย
อวิกิณฺณ : ค. ไม่เกลื่อนกล่น, ไม่เรี่ยราด, ไม่เหลวไหล
อุปฺปิลาวน : นป. การพูดเพ้อเจ้อ, การพูดเหลวไหล
อุปลาปน : นป. การโกหกตอแหล, เรื่องเหลวไหล, การชักชวน
ทารุณ : (วิ.) หยาบ, หยาบช้า, ร้าย, ดุร้าย, โหดร้าย, น่าสะพรึงกลัว. วิ ทาเรติ วิทาเรตีติ ทารุโณ. ทรฺ วิทารเน, อุโณ, กุโน วา. ถ้าลง กุน ปัจ. สบ กฺ แปลง น เป็น ณ. ส. ทารุณ.
คามเชฏฺฐก : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่ในหมู้บ้าน, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน, พ่อหลว(ผู้ใหญ่บ้าน)
ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
ธิกฺกต : ค. ซึ่งสบประมาท, เกลียดชัง, ทำให้เลวลง, น่าติเตียน
นิรงฺกโรติ : ก. เพิกเฉย, ไม่เอาใจใส่, ละทิ้ง, ไม่แยแส, ไม่คำนึง, สบประมาท
นิลฺลป : ค. ซึ่งไม่หลอกลวง, ปราศจากการสบประมาท
ปริภวติ : ก. สบประมาท, ดูหมิ่น, ฉิบหาย, ลำบาก
ปริภูต : กิต. ดูหมิ่นแล้ว, สบประมาทแล้ว, ฉิบหายแล้ว
วมฺภน : นป.,- นา อิต. การเย้ยหยัน, การสบประมาท
วมฺภิต : กิต. สบประมาทแล้ว, เย้ยหยันแล้ว
วมฺภี : ค. ผู้สบประมาท, ผู้เย้ยหยัน
วมฺเภติ : ก. สบประมาท, เย้ยหยัน
อกฺโกส : (ปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อกฺโกสน : (นปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อกฺโกสนา : (อิต.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
อปฺปติกุฏฺฐ : ค. ไม่สบประมาท, ไม่รังเกียจ
อวญฺญาต, อวญฺญต (อุญฺญาต) : กิต. ถูกดูถูกแล้ว, ถูกสบประมาทแล้ว
อวญาต : กิต. ดูถูกแล้ว, สบประมาทแล้ว
อวมญฺญติ : ก. ดูหมิ่น, ดูถูก, สบประมาท
อวมญฺญนา : อิต. การดูหมิ่น, การสบประมาท
อสาต : ๑. นป. ความทุกข์, ความเจ็บปวด ;
๒. ค. ไม่เป็นที่พอใจ, ไม่สบอารมณ์